จารึกวัดพระยืน

จารึกวัดพระยืน เป็นจารึกซึ่งถูกค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2457 โดยหม่อมเจ้าทรงวุฒิภาพ ดิศกุล[1] โดยตั้งอยู่ประชิดฐานเจดีย์ด้านทิศเหนือใกล้กับบันได้แก้ว โดยได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น เอกสารความทรงจำแห่งโลกของประเทศไทย โดยคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยแผนงานความทรงจำแห่งโลกของคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2558[1] โดยยังคงเก็บรักษาไว้ที่วัดพระยืน ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือขององค์พระสถูปเจดีย์[2]

จารึกวัดพระยืน

ตัวหนังสือ จารึกด้วยอักษรไทย (ลายสือไทสุโขทัยแบบอาลักษณ์) ภาษาไทย
ที่อยู่ปัจจุบัน วัดพระยืน จังหวัดลำพูน
ความลึก 10.5 เซนติเมตร
ช่วงเวลา/วัฒนธรรม รัชกาลของพญากือนา (ในจารึกเรียก "ท้าวสองแสนนา")
กษัตริย์แห่งราชวงศ์มังราย นครเชียงใหม่
(ตรงกับสมัยพญาลิไทแห่งกรุงสุโขทัย)
ค้นพบ พ.ศ. 2457
วัดพระยืน จังหวัดลำพูน
ความกว้าง 55 เซนติเมตร
สร้าง จ.ศ.731 (พ.ศ.1912)
เลขประจำตัว ศิลาจารึกหลักที่ 62 (รหัสเดิมก่อนแบบตามจังหวัด)
ลพ.38 (กองหอสมุดแห่งชาติ)
วัสดุ หินดินดาน หรือ หินชนวน
ความสูง 90 เซนติเมตร
ค้นพบโดย หม่อมเจ้าทรงวุฒิภาพ ดิศกุล

ใกล้เคียง

จารึกพ่อขุนรามคำแหง จารึกเมร์เนปทาห์ จารึกวัดพระยืน จารึก อารีราชการัณย์ จารึกวัดศรีชุม จารึกวัดพระงาม จารึกเมียเซดี จารึกเกอดูกันบูกิต จารึกเบฮิสตูน จารึกระฆังเจดีย์ชเวซี่โกน

แหล่งที่มา

WikiPedia: จารึกวัดพระยืน https://finearts.go.th/literatureandhistory/view/4... https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/... https://www.youtube.com/watch?v=RSa5cpwJkpA https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/In... https://www.nat.go.th/mow/en-us/%E0%B8%84%E0%B8%A7... http://www.mow.thai.net/wp-content/uploads/2016/06... https://www.finearts.go.th/storage/contents/file/0... https://geohack.toolforge.org/geohack.php?pagename...