ชิรก์_(อิสลาม)
ชิรก์_(อิสลาม)

ชิรก์_(อิสลาม)

ในศาสนาอิสลาม ชิรก์ (อาหรับ: شرك‎) เป็นบาปจากการสักการะรูปปั้นหรือพหุเทวนิยม (เช่น สักการะใครหรืออะไรก็ตามเป็นพระเจ้านอกจากอัลลอฮ์)[1]ตามหลัก เตาฮีด (เอกเทวนิยม)[2] มุชริกูน (مشركون พหุพจน์ของ มุชริก مشرك) คือผู้ที่ทำ ชิรก์ ซึ่งหมายถึง "มีความสัมพันธ์" และอิงถึงการยอมรับพระเจ้าและความศักดิ์สิทธิ์คู่กับอัลลอฮ์ (ในฐานะ "ผู้มีหุ้นส่วน" กับพระเจ้า)[3][4]ในกฎหมายชะรีอะฮ์ ชิรก์เป็นอาชญากรรมที่อภัยไม่ได้ เพราะเป็นบาปขั้นร้ายแรง: อัลลอฮ์ทรงอภัยบาปทุกชนิด ยกเว้น ชิรก์ โดยผู้ที่ได้รับการยกเว้นคือ ผู้ศรัทธาที่สำนึกผิดจากชิรก์ก่อนตาย[2][5]

แหล่งที่มา

WikiPedia: ชิรก์_(อิสลาม) http://ashab-al-hadith.cf/Democracy-and-its-link-t... http://referenceworks.brillonline.com/entries/ency... http://www.oxfordislamicstudies.com/article/opr/t2... http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/acref/... http://www.quran4u.com/Tafsir%20Ibn%20Kathir/004%2... http://www.quran4u.com/Tafsir%20Ibn%20Kathir/005%2... http://www.quran4u.com/Tafsir%20Ibn%20Kathir/009%2... http://www.quran4u.com/Tafsir%20Ibn%20Kathir/071%2... http://www.sacred-texts.com/isl/yaq/yaq007.htm http://theolibrary.shc.edu/resources/Quran-Gospel....