ชุดตัวอักษรซีรีแอก
ชุดตัวอักษรซีรีแอก

ชุดตัวอักษรซีรีแอก

  → อักษรออร์คอน
      → อักษรฮังการีโบราณ
  → อักษรอุยกูร์
      → อักษรมองโกเลีย
ชุดตัวอักษรนาบาทาเอียน
  → ชุดตัวอักษรอาหรับ
ชุดตัวอักษรซีรีแอก (อังกฤษ: Syriac alphabet) เป็นชุดของตัวอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราวพ.ศ. 1032 เกิดการแบ่งแยกเป็น 2 กลุ่มคือ เมื่อเวลาผ่านไปนานเข้าอักษรที่แต่ละกลุ่มใช้เริ่มต่างกัน อักษรที่กลุ่มตะวันออกใช้เรียกอักษรเนสโตเรีย ยังคงใช้ในทางศาสนาโดยชาวคริสต์ในซีเรีย อิรัก และเลบานอน อักษรที่กลุ่มตะวันตกใช้เรียกอักษรเซอร์โต (เส้นตรง) หรือ อักษรจาโคไบต์อักษรหลายชนิดพัฒนามาจากชุดตัวอักษรซีรีแอก ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม เช่น อักษรนาบาทาเอียน อักษรพัลไมรัน อักษรมันดาอิก อักษรพาร์เทียน อักษรปะห์ลาวี อักษรซอกเดีย อักษรอเวสตะ และอักษรมานิเชียน

ชุดตัวอักษรซีรีแอก

ISO 15924 Syrc (ซีรีแอก)
Syre (เอสตรันเจลา)
Syrj (ตะวันตก)
Syrn (ตะวันออก)
ช่วงยุค ประมาณ 200 ปีก่อนคริสตกาล–ปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบลูก ชุดตัวอักษรซอกเดีย

  → อักษรออร์คอน
      → อักษรฮังการีโบราณ
  → อักษรอุยกูร์
      → อักษรมองโกเลีย
ชุดตัวอักษรนาบาทาเอียน
  → ชุดตัวอักษรอาหรับ

อักษรจอร์เจีย (ยังสรุปไม่ได้)
ชนิด อักษรไร้สระ
ภาษาพูด ภาษาซีรีแอก
ภาษาแอราเมอิก
ภาษาอาหรับ (Garshuni)

ใกล้เคียง

ชุดตัวอักษรอาหรับ ชุดตัวอักษรกรีก ชุดตัวอักษรอูรดู ชุดตัวอักษรยาวี ชุดตัวอักษรละติน ชุดตัวอักษรทาจิก ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย ชุดตัวหนังสือพยางค์เชโรกี ชุดตัวอักษรฮีบรู ชุดตัวอักษรสากลสำหรับการถอดอักษรภาษาสันสกฤต