ปริมาณและหน่วย ของ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า

สัญลักษณ์[10]ชื่อปริมาณหน่วยอนุพันธ์หน่วยหน่วยฐาน
Qประจุไฟฟ้าคูลอมบ์CA⋅s
Iกระแสไฟฟ้าแอมแปร์ (หน่วยฐานเอสไอ)AA (= W/V = C/s)
Jความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า (current density)แอมแปร์ต่อตารางเมตรA/m2A⋅m−2
U, ΔV, Δφ; Eความต่างศักย์; แรงเคลื่อนไฟฟ้าโวลต์VJ/C = kg⋅m2⋅s−3⋅A−1
R; Z; Xความต้านทานไฟฟ้า; อิมพีแดนซ์; รีแอคแตนซ์ (reactance)โอห์มΩV/A = kg⋅m2⋅s−3⋅A−2
ρสภาพต้านทานไฟฟ้าโอห์มเมตรΩ⋅mkg⋅m3⋅s−3⋅A−2
Pกำลังไฟฟ้าวัตต์WV⋅A = kg⋅m2⋅s−3
Cความจุไฟฟ้า (capacitance)ฟารัดFC/V = kg−1⋅m−2⋅A2⋅s4
ΦEฟลักซ์ไฟฟ้า (electric flux)โวลต์เมตรV⋅mkg⋅m3⋅s−3⋅A−1
Eความแรงสนามไฟฟ้าโวลต์ต่อเมตรV/mN/C = kg⋅m⋅A−1⋅s−3
Dสนามการกระจัดไฟฟ้า (electric displacement field)คูลอมบ์ต่อตารางเมตรC/m2A⋅s⋅m−2
εแรงต้านสนามไฟฟ้าฟารัดต่อเมตรF/mkg−1⋅m−3⋅A2⋅s4
χeความอ่อนไหวทางไฟฟ้า (electric susceptibility)(ไม่มีหน่วย (dimensionless quantity))11
G; Y; Bคอนดักแตนซ์; แอดมิตแตนซ์ (Admittance); ซัซเซพแตนซ์ (susceptance)ซีเมนส์ (Siemens (unit))SΩ−1 = kg−1⋅m−2⋅s3⋅A2
κ, γ, σสภาพนำไฟฟ้าซีเมนส์ต่อเมตรS/mkg−1⋅m−3⋅s3⋅A2
Bความเข้มสนามแม่เหล็ก, การเหนี่ยวนำแม่เหล็กเทสลาTWb/m2 = kg⋅s−2⋅A−1 = N⋅A−1⋅m−1
Φ, ΦM, ΦBฟลักซ์แม่เหล็กเวเบอร์WbV⋅s = kg⋅m2⋅s−2⋅A−1
Hความแรงสนามแม่เหล็กแอมแปร์ต่อเมตรA/mA⋅m−1
L, Mความเหนี่ยวนำ (inductance)เฮนรีHWb/A = V⋅s/A = kg⋅m2⋅s−2⋅A−2
μความสามารถซึมผ่าน (permeability)เฮนรีต่อเมตรH/mkg⋅m⋅s−2⋅A−2
χความอ่อนไหวทางแม่เหล็ก (magnetic susceptibility)(ไม่มีหน่วย)11

แหล่งที่มา

WikiPedia: ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า http://scienceworld.wolfram.com/physics/Electromag... http://www.feynmanlectures.caltech.edu/II_toc.html http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/emcon.h... http://www-istp.gsfc.nasa.gov/Education/whmfield.h... http://ppp.unipv.it/collana/pages/libri/saggi/nuov... http://www.unitconversion.org/unit_converter/magne... https://books.google.com/?id=2kPAIlxjDJwC&printsec... https://www.youtube.com/watch?v=9Tm2c6NJH4Y https://www.youtube.com/watch?v=HcPDc23ZLEs https://archive.org/details/classicalelectro0000ja...