การเชื่อมต่อระหว่างกันเพิ่มเติม ของ ทางหลวงไตรภาคีอินเดีย–พม่า–ไทย

การเชื่อมต่อกับบังคลาเทศ

ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 บังคลาเทศ ซึ่งเป็นพันธมิตรของกลุ่มบิมสเทคแสดงความสนใจที่จะเข้าร่วมกับทางหลวงสายนี้ด้วยผ่านทางรัฐตริปุระ[63] โดยอินเดียมีแผนที่จะปรับปรุงเส้นทางจากโซคาธาร์ในรัฐมิโซรัมไปยังตีเดนในรัฐชีนของพม่า เพื่อเป็นแนวเชื่อมต่อเพิ่มเติมกับทางหลวงไตรภาคีอินเดีย–เมียนมาร์–ไทย[1]

มองการเชื่อมต่อฝั่งตะวันออก

การค้าขายกับประเทศในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกคิดเป็นเกือบร้อยละ 45 ของการค้าต่างประเทศของอินเดีย[64][65] พม่าและประเทศในอาเซียนเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายมองตะวันออกของอินเดีย[66][67][68] อินเดียเป็นส่วนหนึ่งของบิมสเทค, การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก, ความร่วมมือลุ่มแม่น้ำโขง–คงคา, คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก, ทางหลวงสายเอเชีย และเครื่อข่ายทางรถไฟสายทรานส์–เอเชีย ซึ่งอินเดียได้เริ่มโครงการมองการเชื่อมโยงตะวันออก[69][70]

ใกล้เคียง

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ทางหลวงในประเทศไทย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 ทางหลวงไตรภาคีอินเดีย–พม่า–ไทย ทางหลวงสายเอเชีย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81

แหล่งที่มา

WikiPedia: ทางหลวงไตรภาคีอินเดีย–พม่า–ไทย https://www.orfonline.org/research/the-role-of-bim... https://www.tripoto.com/trip/india-delhi-to-thaila... https://www.telegraphindia.com/north-east/highway-... http://www.irrawaddy.com/news/burma/burma-road-pro... http://www.irrawaddy.com/multimedia-burma/slow-con... http://www.mizzima.com/business-domestic/myanmar-l... http://www.financialexpress.com/india-news/governm... http://www.financialexpress.com/economy/mea-direct... http://www.financialexpress.com/archive/up-thailan... https://thediplomat.com/2021/01/connectivity-gaini...