การสร้างภาพสมองโดยกิจ ของ ประสาทหลอนเสียงดนตรี

การสร้างภาพสมองโดยใช้โพซิตรอนอีมิสชันโทโมกราฟี (PET) และ fMRIแสดงว่า อาการเสียงดนตรีหลอนเกิดขึ้นพร้อมกับการทำงานในเขตหลายเขตในสมองรวมทั้งเขตประมวลข้อมูลเสียง (auditory areas), คอร์เทกซ์สั่งการ, เขตสายตา, basal ganglia, ก้านสมอง, พอนส์, tegmentum, ซีรีเบลลัม, ฮิปโปแคมปัส, อะมิกดะลา, และระบบการได้ยินรอบ ๆ (peripheral auditory system)[2]

ใกล้เคียง

ประสาทสัมผัส ประสาร ไตรรัตน์วรกุล ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์ ประสาทหลอนเสียงดนตรี ประสาทสมอง ประสาทวิทยาศาสตร์ ประสาท ตันประเสริฐ ประสาท สืบค้า ประสาน ศิลป์จารุ ประสาทกายวิภาคศาสตร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: ประสาทหลอนเสียงดนตรี http://www.biomedsearch.com/attachments/00/23/96/4... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1027453 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1557851 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10932294 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15546592 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16889667 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18327022 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20629118 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21625772 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/2180526