คำพรรณนาถึงโรค ของ ประสาทหลอนเสียงดนตรี

เพราะเหตุเทคโนโลยีพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ เราเริ่มที่จะเข้าใจสิ่งที่คนไข้ได้ยินเพราะอาการนี้ได้ดีขึ้นในคนไข้ 73 คนที่ตรวจสอบโดยนักวิจัยเอเวอร์สและเอ็ลล์เกอร์ คนไข้ 57 คนได้ยินทำนองดนตรีที่คุ้นเคย คนไข้อีก 5 คนได้ยินทำนองที่ไม่คุ้นเคยทำนองที่ได้ยินเป็นเสียงดนตรีต่าง ๆ กันเริ่มต้นตั้งแต่เกี่ยวกับศาสนาไปจนถึงดนตรีโปรดในวัยเด็ก รวมทั้งเพลงยอดนิยมจากวิทยุคนไข้บางพวกได้ยินเสียงนักร้องหรือเสียงเครื่องดนตรีประเภทคลาสสิกนักวิจัยเคชะวานพบว่า ลักษณะที่ทั่วไปกับอาการนี้ทั้งหมดคือมันเป็น memory trace (แปลว่า รอยความทรงจำ) ของคนไข้ซึ่งหมายถึงสิ่งที่คนไข้คุ้นเคยดังนั้น ข้อค้นพบนี้จึงอธิบายการที่คนไข้ได้ยินเสียงเพลงที่คุ้นเคยหรือที่เคยได้ยินในวัยเด็ก[1][5]

ใกล้เคียง

ประสาทสัมผัส ประสาร ไตรรัตน์วรกุล ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์ ประสาทหลอนเสียงดนตรี ประสาทสมอง ประสาทวิทยาศาสตร์ ประสาท ตันประเสริฐ ประสาท สืบค้า ประสาน ศิลป์จารุ ประสาทกายวิภาคศาสตร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: ประสาทหลอนเสียงดนตรี http://www.biomedsearch.com/attachments/00/23/96/4... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1027453 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1557851 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10932294 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15546592 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16889667 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18327022 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20629118 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21625772 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/2180526