ผลกระทบกิบส์–ดอนนัน
ผลกระทบกิบส์–ดอนนัน

ผลกระทบกิบส์–ดอนนัน

ผลกระทบกิบส์–ดอนนัน (หรือรู้จักกันในชื่อ ผลกระทบดอนนัน, กฎดอนนัน, สมดุลดอนนัน หรือ สมดุลกิบส์–ดอนนัน) เป็นชื่อพฤติกรรมของอนุภาคมีประจุใกล้กับเยื่อเลือกผ่านที่ไม่สามารถกระจายตัวผ่านทั้งสองฝั่งของเยื่อหุ้มเซลล์[1] สิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงสารประจุต่างกันที่ไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์และสร้างประจุไฟฟ้าไม่สม่ำเสมอ[2] ยกตัวอย่างเช่น โปรตีนแอนไอออนขนาดใหญ่ในพลาสมาที่ไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มหลอดเลือดฝอย ทั้งนี้เป็นเพราะแคตไอออนถูกดึงดูดไว้ แต่ไม่ได้มีพันธะติดกับโปรตีน ทำให้แอนไอออนขนาดเล็กจะข้ามผ่านผนังหลอดเลือดฝอย แยกจากโปรตีนแอนไอออนิกได้ดีกว่าที่แคตไอออนขนาดเล็กทำได้เมื่ออนุภาคไอออนิกขนาดเล็กวิ่งผ่านตัวกั้นในขณะที่อนุภาคทำไม่ได้ ทำให้สารละลายนี้อาจะเป็นเจล คอลลอยด์ หรือสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ที่กั้นระหว่างเจลกับเจล หรือเจลกับของเหลว สามารถหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่านได้ ศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นระหว่างสารละลายสองสารเรียกว่าศักย์ดอนนันผลกระทบนี้ตั้งชื่อตามนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน โจซิอัช วิลลาร์ด กิบส์ ซึ่งเสนอทฤษฎีนี้ใน ค.ศ. 1878 และนักเคมีชาวบริติช เฟรเดริก จอร์จ ดอนนัน ซึ่งทดลองเพื่อศึกษาเรื่องนี้ใน ค.ศ. 1911[3]

ใกล้เคียง

ผลกระทบฮอลล์ ผลกระทบที่ผิว ผลกระทบต่อการทำฮัจญ์ในการระบาดทั่วของโควิด-19 ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562–2563 ผลกระทบกิบส์–ดอนนัน ผลกระทบภายนอก ผลกระทบจากอากาศหนาวจัด พ.ศ. 2555 ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลระยะยาวของโควิด-19 ผีกระสือ