หมายเหตุและอ้างอิง ของ ภาวะไม่รู้ความเคลื่อนไหว

  1. 1 2 3 4 5 6 7 Zeki, Semir (1991) "Cerebral akinetopsia (visual motion blindness): A review". Brain 114, 811-824.
  2. 1 2 3 Shipp, S., B.M. de Jong, J. Zihl, R.S.J. Frackowiak, and S. Zeki (1994) "The brain activity related to residual motion vision in a patient with bilateral lesions of V5" Brain 117, 1023-1038.
  3. 1 2 Schenk, Thomas, Norbert Mai, Jochen Ditterich, Josef Zihl (2000) "Can a motion-blind patient reach for moving objects?". European Journal of Neuroscience 12, 3351-3360.
  4. 1 2 3 Schenk, Thomas, Amanda Ellison, Nichola Rice, A. David Milner (2005) "The role of V5/MT+ in the control of catching movements: an rTMS study". Neuropsychologia 43, 189-198.
  5. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Zihl, J, D von Cramon, N Mai (1983) "Selective disturbance of movement vision after bilateral brain damage". Brain 106, 313-340.
  6. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 Pelak, Victoria S., William F. Hoyt (2005) "Symptoms of akinetopsia associated with traumatic brain injury and Alzheimer's Disease". Neuro-Ophthalmology 29, 137-142.
  7. 1 2 3 Zihl, J., ULM Munich (Max Planck Institute of Psychiatry), interviewed by R. Hamrick, Oct. 28, 2009.
  8. 1 2 3 4 5 6 Beckers G. and S. Zeki (1995) "The consequences of inactivating areas V1 and V5 on visual motion perception". Brain 118, pp. 49–60 1995.
  9. Rizzo, M., and M. Nawrot (1998) "Perception of movement and shape in Alzheimer's Disease" Brain 121, 2259-2270.
  10. Zeki, S., J.D.G. Watson, C.J. Lueck, K.J. Friston, C. Kennard, and R.S.J. Frackowiak (1991) "A direct demonstration of functional specialization in human visual cortex" The Journal of Neuroscience 11(3), 641-649.
  11. Wandell, Brian A., Serge O. Dumoulin, Alyssa A. Brewer (2007) "Visual field maps in human cortex". Neuron 56, 366-383.
  12. 1 2 LaRock, Eric "Why neural synchrony fails to explain the unity of visual consciousness". Behavior and Philosophy 34, 39-58.
  13. ภาวะเสียการสื่อความโดยชื่อ (anomic aphasia) เป็นความผิดปกติอย่างรุนแรงในการระลึกถึงศัพท์หรือชื่อ
  14. ปรากฏการณ์หลังตัวกระตุ้นเคลื่อนไหว (motion aftereffect) เป็นภาพลวงตาที่ประสบเมื่อมองตัวกระตุ้นที่เคลื่อนไหวเป็นระยะเวลาหนึ่ง (ตั้งแต่เป็นสิบๆ มิลลิวินาที จนถึงเป็นนาทีๆ) ด้วยตาที่อยู่นิ่งๆ และหลังจากนั้นให้เพ่งตรึงที่ตัวกระตุ้นที่อยู่นิ่งๆ ตัวกระตุ้นที่อยู่นิ่งๆ นั้นจะปรากฏว่า เคลื่อนไปในทิศตรงกันข้ามของตัวกระตุ้นแรกที่เคลื่อนไหวจริงๆ ปรากฏการณ์หลังตัวกระตุ้นเคลื่อนไหวเชื่อกันว่าเป็นผลของการปรับตัวต่อความเคลื่อนไหว (motion adaptation) ส่วนอีกแบบหนึ่งก็คือ ถ้าดูที่ตรงกลางของลายก้นหอยที่หมุนไปอยู่ ลายก้นหอยอาจจะปรากฏเหมือนกับมีการเคลื่อนไหวโดยออกมาหรือโดยเข้าไปในแนวลึก แล้วเมื่อดูลวดลายอื่นที่อยู่นิ่งๆ ลายนั้นก็ปรากฏว่าเคลื่อนที่ไปในทิศตรงกันข้ามในแนวลึก
  15. ปรากฏการณ์ฟาย (phi phenomenon) เป็นภาพลวงตาที่เห็นการเคลื่อนไหวในภาพนิ่งต่างๆ กันที่เห็นต่อๆ กันไปอย่างรวดเร็ว ปรากฏการณ์นี้เห็นได้ในการดูหนัง ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นภาพนิ่งหลายๆ ภาพที่เห็นต่อๆ กันไป
  16. คือ คนไข้สามารถพรรณนาวัตถุเดียว โดยไม่สามารถจะเห็นวัตถุนั้นว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุหลายๆอย่างที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน (เช่นเห็นต้นไม้ แต่ไม่เห็นป่า)
  17. คือ ไม่สามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปริภูมิทางตาเพื่อจะชี้นำการเคลื่อนไหวแขน เช่นไม่สามารถเอื้อมแขนไปหยิบจับวัตถุได้
  18. คือ ไม่สามารถที่จะขยับตาได้ตามความต้องการแม้ว่าจะไม่มีความผิดปกติในกล้ามเนื้อ

ใกล้เคียง

ภาวะไม่รู้ใบหน้า ภาวะไม่รู้ความเคลื่อนไหว ภาวะไข้สูง ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส ภาวะไม่มีการสร้างของระบบท่อมุลเลอเรียน ภาวะไม่มีแกมมาโกลบูลินในเลือดที่ถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศ ภาวะไม่ทนต่อฟรุกโทสกรรมพันธุ์ ภาวะไตเสื่อมมีน้ำคั่ง ภาวะไม่รู้ ภาวะไตวาย