ไวยากรณ์ ของ ภาษาคิเลกิ

ระบบกริยา

ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย รูปนามกริยาทั้งหมดลงท้ายด้วย -tən/-dən หรือ -V:n, เมื่อ V: สระเสียงยาว รูปปัจจุบันมักสัมพันธ์กับรูปนามกริยา ส่วนรูปอดีตจะเป็นรูปนามกริยาที่ตัด -ən หรือ -n

กริยาประกอบ

มีกริยาประกอบเป็นจำนวนมากในภาษาคิเลกิ ซึ่งมีรูปแบบต่างจากกริยาโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ ไม่ใช้คำอุปสรรค bV- และคำอุปสรรคปฏิเสธ nV- สามารถทำหน้าที่คล้ายอาคม -n-, โดยมาระหว่างอปสรรคและรากศัพท์ ดังนั้น จาก fagiftən, "ได้รับ", จะได้ รูปชี้เฉพาะปัจจุบัน fagirəm, แต่ เงื่อนไขปัจจุบันเป็น fágirəm, และรูปปฏิเสธของทั้งคู่เป็น fángirəm หรือ fanígirəm. รูปอดีตเป็น fángiftəm หรือ fanígiftəm.

นาม

ภาษาคิเลกิใช้ระบบของการกร่วมกับคำบุพบท มีสามการกคือ การกประธาน การกความเป็นเจ้าของ และการกกรรม

คำคุณศัพท์

มาก่อนคำที่ถูกขยายและมักลงท้ายด้วยการกแสดงความเป็นเจ้าของ

อารยัน
โบราณสันสกฤต: พระเวท - สันสกฤตคลาสสิก · มิตันนี
ใหม่เบงกอลี : จิตตะกอง สิลเหติ · ฮินดูสถาน : ฮินดี · อูรดู · อังคิกา · อัสสัม · โภชปุรี · มณีปุระพิษณุปุระ · มัลดีฟส์ · โดกรี · คุชราต · กอนกานี · มาห์ล · ไมถิลี · มราฐี · เนปาล · โอริยา · ปัญจาบ · โรมานี · สินธี · สิงหล · ฮาชอง · ราชสถาน · เมโมนี · มัล ปาฮาเรีย · นาฮารี
อิหร่าน
ตะวันออกอเวสตะ - ไซเทีย - ซอกเดีย · แบกเตรีย ควาเรสเมียร์ ออสซีเชีย ซาเซีย ซากา บาร์ตางี ฮินดูกูช อิสกาซมี การาโกรัม คูฟี มุนจี ภาษาโอโรโซรี ภาษาปาราชิ ภาษาปาทาน ภาษาโรซานี ภาษาซังเลชิ ภาษาซาริโกลี ภาษาซุกนี ภาษาวาคี ภาษาวันจี ภาษาวาซิรี ภาษายักโนบี ภาษายิดคา ภาษายักคูลัม ภาษาเซบากี ภาษากลุ่มปามีร์
ตะวันตกประวัติภาษาเปอร์เซีย:เปอร์เซียโบราณ - เมเดีย พาร์เทียน - เปอร์เซียกลาง - - อัลวิรี อัสเตียนี อซารีโบราณ บาลูจิ ภาษาบัชการ์ดี ภาษาดารี ภาษาดารีโซโรอัสเตอร์ ภาษาคิเลกิ ภาษาโครานี ภาษาฮาร์ซานี ภาษายิวเปอร์เซีย ภาษากุรมันยี ภาษาลากี ภาษาลูรี ภาษาบักเตียรี ภาษามาซันดารานี ภาษาโอรมูรี ภาษาซังซารี ภาษาปาราจี ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโซรานี ภาษาทาจิก ภาษาตาเลซ ภาษาตัต ภาษาตาตี ภาษาวาฟซิ ภาษาซาซากิ · ภาษาบูโครี · · ภาษาเคิร์ด
ดาร์ดิก
นูริสถาน
วิกิพีเดีย
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาคิเลกิ