ภาษาฮินดูสตานี
ภาษาฮินดูสตานี

ภาษาฮินดูสตานี

ภาษาฮินดูสตานี (ฮินดี: हिन्दुस्तानी; อูรดู: ہندوستانی‎) เป็นคำที่เกิดในสมัยที่อังกฤษครอบครองอินเดียและปากีสถาน โดยอังกฤษนำภาษาฮินดีกับภาษาอูรดูมารวมกันแล้วให้ชื่อว่าฮินดูสตานี เขียนได้ทั้งอักษรไกถี อักษรเทวนาครี และอักษรอาหรับ แต่คำศัพท์และไวยากรณ์ของสองภาษานั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจากภาษาฮินดีได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต แต่ภาษาอูรดูได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ถือว่าเป็นภาษาใหม่ ปัจจุบันยังคงแยกเป็นภาษาฮินดีซึ่งเป็นภาษาทางการของอินเดีย และภาษาอูรดูซึ่งเป็นภาษาทางการของปากีสถาน

ภาษาฮินดูสตานี

ภูมิภาค เอเชียใต้
ตระกูลภาษา
รูปแบบมาตรฐาน
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน
ผู้วางระเบียบ Central Hindi Directorate (ฮินดี, อินเดีย);[4]
National Language Promotion Department (อุรดู, ปากีสถาน);
National Council for Promotion of Urdu Language (อุรดู, อินเดีย)[5]
ออกเสียง ɦɪnd̪ʊst̪aːniː
ɦɪnd̪uːst̪aːniː
ระบบการเขียน อักษรเทวนาครี (ฮินดี)
นัสตาลิก (อุรดู)
ลาติน (ไม่ทางการ)
ไกถี (ประวัติ)
อักษรเบรลล์ฮินดี
อักษรเบรลล์อุรดู
Linguasphere 59-AAF-qa to -qf
จำนวนผู้พูด 409.8 ล้าน  (2019)[1][2]
L2: 375.8 ล้าน (2019)[1][2]
ISO 639-1 hi
ISO 639-3 อย่างใดอย่างหนึ่ง:
hin — Hindi
urd — Urdu
ISO 639-2 hin
ประเทศที่มีการพูด เข็มขัดฮินดี, ปากีสถาน, เดกกัน
ภาษาทางการ