ลักษณะเฉพาะของมวยไท่เก๊กตระกูลอู่ ของ มวยไท่เก๊กตระกูลอู่

ผู้ฝึกจำเป็นจะต้องพินิจพิเคราะห์โดยสม่ำเสมอ ตลอดเวลาการฝึกฝน ให้ถูกต้องในทุกๆ กระบวนท่ามวยจนสามารถปฏิบัติได้อย่างเป็นธรรมชาติ การฝึกฝนควรเริ่มฝึกไปทีละท่าร่าง เมื่อทำได้จนหมดแล้ว จึงพยายามฝึกทำทั้ง 13 ท่าร่างให้ได้พร้อมกันขณะที่ฝึกฝนกระบวนท่ามวย

  1. หันซฺยง (จีน: 涵胸; พินอิน: hán xiōng)
  2. ป๋าเป้ย (จีน: 拔背; พินอิน: bá bèi)
  3. ถีติ่ง (จีน: 提頂; พินอิน: tí dĭng)
  4. เฉินโจ่ว (จีน: 沉肘; พินอิน: chén zhŏu)
  5. ซงเจียน (จีน: 松肩; พินอิน: sōng jiān)
  6. เตี้ยวตั่ง (จีน: 吊襠; พินอิน: diào dăng)
  7. กั่วตั่ง (จีน: 裹襠; พินอิน: guŏ dăng)
  8. ฮู่จุน (จีน: 護肫; พินอิน: hù zhūn)
  9. เหว่ยลหฺวีเจิ้งจง (จีน: 尾闾正中; พินอิน: wĕi lǘ zhèng zhōng)
  10. ชี่เฉินตันเถียน (จีน: 氣沉丹田; พินอิน: qì chén dān tián)
  11. เถิงหนัว (จีน: 腾挪; พินอิน: téng nuó)
  12. สั่นจั้น (จีน: 闪战; พินอิน: shăn zhàn)
  13. ซวีสือเฟินชิง (จีน: 虚实分清; พินอิน: xū shí fēn qīng)

ใกล้เคียง

มวยไทย มวยไทย 7 สี มวยไทยในวัฒนธรรมประชานิยม มวยไทยสภามวยโลก มวยไทยเลิศฤทธิ์ มวยไท่เก๊กตระกูลอู่ มวยไทยชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ มวยไทย ชูชัย มวยไทยไชยา มวยไทย-คาดเชือก