รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต_เรล_ลิงก์
รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต_เรล_ลิงก์

รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต_เรล_ลิงก์

โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และสถานีรับ-ส่งผู้โดยสารอากาศยานกรุงเทพมหานคร หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์[3] (อังกฤษ: Airport Rail Link) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ เดิมอยู่ในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชัน - ฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง ภายหลังรัฐบาลได้นำโครงการนี้มาเป็นโครงการเร่งด่วนและแยกการก่อสร้างต่างหากจากระบบรถไฟฟ้าชานเมือง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และได้เปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์เมื่อ พ.ศ. 2553 โดยบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม ต่อมาได้มีการโอนกิจการทั้งหมดให้กับ บริษัท เอเชีย เอรา วัน จำกัด เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เพื่อรวมเส้นทางสายนี้ให้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน

รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต_เรล_ลิงก์

ขบวนรถ Siemens Desiro UK Class 360/2
เว็บไซต์ เว็บไซต์ทางการ
รูปแบบ รถไฟฟ้าชานเมือง, รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน
ระบบจ่ายไฟ 25 kV AC จ่ายไฟเหนือหัว
อาณัติสัญญาณ Siemens LZB 700M
แผนที่เส้นทาง
แผนที่เส้นทาง

 สายสีแดงเข้ม  ไป รังสิต/อยุธยา
ท่าอากาศยานดอนเมือง
 สายสีแดงเข้ม 
 สายสีแดงอ่อน  ไป ตลิ่งชัน
บางซื่อ (สถานีกลาง)
ราชวิถี
 สายสีแดงเข้ม  ไป หัวลำโพง
พญาไท
ราชปรารภ
มักกะสัน
 สายสีแดงอ่อน  ศูนย์วิจัย
รามคำแหง
สีเหลือง ศรีกรีฑา – กลันตัน
หัวหมาก
(สุดเขตรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน)
(เขตทางรถไฟสายตะวันออก)
บ้านทับช้าง
ลาดกระบัง
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ศรีราชา
พัทยา
(อุโมงค์เขาชีจรรย์)
ท่าอากาศยานอู่ตะเภา
(ส่วนต่อขยาย ระยอง-ตราด)
แผนภาพนี้:
เจ้าของ การรถไฟแห่งประเทศไทย
จำนวนสถานี 8
ระบบ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน
รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน
ผู้โดยสารต่อวัน 85,888 คน[1]
(31 สิงหาคม พ.ศ. 2561)
ความเร็ว ความเร็วสูงสุด160 km/h (99 mph)
สถานะ เปิดให้บริการ
เปิดเมื่อ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553[2]
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ ประเทศไทย
รางกว้าง 1.435 เมตร รางมาตรฐาน
ระยะทาง 28.6 กิโลเมตร (18 ไมล์) (est.)
ศูนย์ซ่อมบำรุง ศูนย์ซ่อมบำรุงคลองตัน
ปลายทาง สถานีสุวรรณภูมิ (ปัจจุบัน) , สถานีอู่ตะเภา (โครงการ)
สถานีพญาไท (ปัจจุบัน) , สถานีดอนเมือง (โครงการ)
จำนวนทางวิ่ง 2 ทาง (ไป-กลับ)
ผู้ดำเนินงาน บริษัท เอเชีย เอรา วัน จำกัด (ต้องการโลโก้บริษัท)
(สัญญาสัมปทานโครงการ หมด พ.ศ. 2612)

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้า มาหานะเธอ

แหล่งที่มา

WikiPedia: รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต_เรล_ลิงก์ http://www.baanjomyut.com/library/law/02/150.html http://www.hsr3airports.com/ http://www.kodmhai.com/m2/m2-3/m3-91-105.html http://www.lawyerthai.com/law/articles.php?article... http://www.ryt9.com/s/prg/494668 http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=110... http://www.thailandlawyercenter.com/index.php?lay=... http://www.thansettakij.com/content/312700 http://www.railway.co.th http://www.srtet.co.th