เชิงอรรถ ของ วิกฤตการณ์ปากน้ำ

  • หมายเหตุ 1:
    เอกสารบางฉบับแสดงความสูญเสียดังนี้ ทหารฝรั่งเศสตาย 3 คนบาดเจ็บ 3 คน ทหารสยามตาย 8 คน บาดเจ็บ 41 คนและสูญหาย 1 คน[2]
  • หมายเหตุ 2:
    เรือการข่าวแองกงสตัง ระวางขับน้ำ 825 ตัน ความเร็ว 13 นอต ปืนใหญ่ 14 ซม. 3 กระบอก ปืนใหญ่ 10 ซม. 1 กระบอก ปืนกล 37 มม. 5 กระบอก มีนาวาโท โบรี (Boy) เป็นผู้บังคับการเรือ และ ผู้บังคับหมู่เรือ
    เรือปืนโกแมต ระวางขับน้ำ 495 ตัน ปืนใหญ่ 14 ซม. 2 กระบอก ปืนใหญ่ 10 ซม. 2 กระบอก ปืนกล 37 มม. 2 กระบอก มีเรือเอกหลุยส์ ดาร์ติช ดู ฟูร์เนต์ (Louis Dartige du Fournet) เป็นผู้บังคับการเรือ[4]
  • หมายเหตุ 3:
    เอกสารบางฉบับมีป้อมผีเสื้อสมุทรรวมอยู่ด้วย[2]
  • หมายเหตุ 4:
    เรือมกุฎราชกุมาร ระวางขับน้ำ 609 ตัน ความเร็ว 11 นอต อาวุธประจำเรือไม่ทราบชัด ฝ่ายฝรั่งเศสบันทึกว่า มีปืนใหญ่ 15 ซม. 1 กระบอก ปืนใหญ่ 12 ซม. 5 กระบอก ปืนกล 3 กระบอก มีนาวาโท วี. กูลด์แบร์ก (Commander V. Guldberg) เป็นผู้บังคับการเรือ ดับเบิลยู. สมาร์ท (W. Smart) เป็นต้นกลเรือ
    เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ ระวางขับน้ำ 250 ตัน ปืนใหญ่อาร์มสตรอง 70 ปอนด์ 1 กระบอก ปืนใหญ่ 10 ซม. 4 กระบอก ปืนกล 1 กระบอก มี เรือเอก ดับเบิลยู. คริสต์มาส (Lieutenant W. Christmas) เป็นผู้บังคับการเรือ จี. แคนดุตตี (G. Candutti) เป็นต้นเรือ
    เรือหาญหักศัตรูระวางน้ำ 120 ตัน ความเร็ว 7 นอต ปืนใหญ่ 15 ซม. 1 กระบอก ปืนใหญ่ 12 ซม. 1 กระบอก มี เรือเอก เอส. สมีเกโล (Lieutenant S. Smiegelow) เป็นผู้บังคับการเรือ
    เรือนฤเบนทร์บุตรีระวางขับน้ำ 260 ตัน ปืนใหญ่ 10 ซม. 6 กระบอก เรือทูลกระหม่อม (เรือใบ) ระวางขับน้ำ 475 ตัน ปืนใหญ่ 10 ซม. 6 กระบอก[4]

ใกล้เคียง

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2549 วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์ วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 วิกฤตรัฐธรรมนูญออสเตรเลีย ค.ศ. 1975 วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 วิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป วิกฤตการเงิน ค.ศ. 1907