กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน ของ สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

ทวีปแอฟริกา

แอฟริกาเหนือ

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แอลจีเรีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2509
การลงโทษ: ปรับและจำคุกสูงสุด 2 ปี[1][2]
หมู่เกาะคะแนรี
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่กินชอบด้วยกฎหมายโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2546[3] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[4] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[5]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[6]
สเปนเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[8]
เซวตา
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่กินชอบโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2541[9] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[10] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[11] สเปนเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[8]
อียิปต์/ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายโดยนิตินัย แต่ไม่ชอบด้วยกฎหมายโดยพฤตินัย ตั้งแต่ 2549
การลงโทษ: จำคุกสูงสุดถึง 17 ปีและ/หรือการใช้แรงงานอย่างหนักและ/หรือปรับตามกฎหมายว่าด้วยศีลธรรมอันดีงามที่ถูกตราขึ้น
ไม่ชัดเจนในเพศหญิง[1][13]
ลิเบีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2496[14]
มาเดรา
(แคว้นปกครองตนเองของโปรตุเกส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2544[15][16] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[17] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 (+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[18][19][20] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ตั้งแต่ 2554 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[21]
เมลียา
(แคว้นปกครองตนเองของสเปน)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2551[22] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[10] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[11] สเปนรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ตั้งแต่ 2550 เอกสารทุกฉบับสามารถแก้ไขเพศให้เป็นเพศที่รับรู้ได้[8]
โมร็อกโก
(รวมถึงจังหวัดทางใต้)
ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[1][23]
สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี
(ไม่รวมถึงจังหวัดทางใต้)
ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2487 (ในขณะเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นโพ้นทะเลสเปนซาฮารา)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[1][24][25]
เซาท์ซูดาน ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442 (ในขณะเป็นอังกโลอียิปต์ซูดาน)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 10 ปี[1][2]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ปี 2554
ซูดาน ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442 (ในขณะเป็นอังกโลอียิปต์ซูดาน)
การลงโทษ: ประหารชีวิตในผู้ชายที่ทำผิดเป็นครั้งที่สามและในผู้หญิงที่ทำผิดเป็นครั้งที่สี่[1]
ตูนิเซีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2456 (ในขณะเป็นตูนิเซียในคุ้มกันของฝรั่งเศส)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[1][26]

แอฟริกาตะวันตก

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบนิน ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);[1][27]
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[1]
บูร์กินาฟาโซ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[1] รัฐธรรมนูญห้ามไว้ตั้งแต่ 2534
กาบูเวร์ดี ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2547
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]
แกมเบีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2431 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในอารักขาและอาณานิคมแกมเบีย)
โทษ: จำคุกถึงตลอดชีวิต[1][28][2]
กานา ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ช่วงปี 2403 (เป็นส่วนหนึ่งของโกลด์โคสต์)
โทษ: จำคุก 10 ปี หรือมากกว่า
Female always Legal[1][29][2]
กินี ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2531
โทษ: จำคุก 6 เดือนถึง 3 ปี[1]
กินี-บิสเซา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536[1]
+ ลงนามสหประชาชาติ
โกตดิวัวร์ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[1]
ไลบีเรีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2519
โทษ: จำคุก 1 ปี[1][30]
มาลี ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[1]
มอริเตเนีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
โทษ: ประหารชีวิตโดยการขว้างหิน[1][31]
ไนเจอร์ ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[1]
ไนจีเรีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายสหพันธรัฐตั้งแต่ 2444 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขานอร์ทเทิร์นไนจีเรีย และ ดินแดนอารักขาเซาท์เทิร์นไนจีเรีย)
โทษ: จำคุกสูงสุดถึง 14 ปี มีโทษประหารในรัฐบาอูชี, เบอร์โน, กอมเบ, จิกาวา, กาดูนา, กาโน, กัตซินา, เกบบี, ไนเจอร์, โซโกโต, โยเบ, และซัมฟารา[1][32][2]
เซเนกัล ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2509
โทษ: จำคุก 1 ถึง 5 ปี[1][33]
เซียร์ราลีโอน ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2404 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาและอาณานิคมเซียร์ราลีโอน)
โทษ: จำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
โตโก ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2427 (เมื่อครั้งเป็นดินแดนอารักขาโตโกแลนด์)
โทษ: ปรับ และจำคุก 3 ปี[1][2]

แอฟริกากลาง

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แคเมอรูน ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2515
โทษ: ปรับ และจำคุกสูงสุด 5 ปี[1][2]
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2559[34]
ชาด ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560
โทษ: จำคุก 3 เดือนถึง 2 ปี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[1] รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548
อิเควทอเรียลกินี ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[1]
กาบอง ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ
สาธารณรัฐคองโก ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[1]
เซนต์เฮเลนา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[35][36] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์
เซาตูเมและปรินซีปี ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]

แอฟริกาตะวันออกเฉียงใต้

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
บุรุนดี ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552
โทษ: จำคุก 3 เดือนถึง 2 ปี[1][37]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548
เคนยา ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2440 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาแอฟริกาตะวันออก)
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปี[1][2]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[38]
รวันดา ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[1]
+ ลงนามสหประชาชาติ
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2546
แทนซาเนีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2407 (เฉพาะแซนซิบาร์)
ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442
โทษ: จำคุกสูงสุดถึงตลอดชีวิต[1][2]
ยูกันดา ในเพศชายไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2437
โทษ: จำคุกสูงสุดถึงตลอดชีวิต[39][39]
ในเพศหญิงยังคลุมเคลือ
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2548

จะงอยแอฟริกา

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
จิบูตี ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[1]
เอริเทรีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2500 (ในขณะที่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเอธิโอเปียและเอริเทรีย)
การลงโทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี[1][40]
เอธิโอเปีย ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การลงโทษ: จำคุก 10 ปีหรือนานกว่านั้น[1]
โซมาเลีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
การลงโทษ: สูงสุดถึงประหารชีวิต[41]
โซมาลีแลนด์ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การลงโทษ: สูงสุดถึงประหารชีวิต[41]

รัฐในมหาสมุทรอินเดีย

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
คอโมโรส ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2525
โทษ: จำคุก 5 ปี และปรับ[1][42]
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในดินแดน)[1]
ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
มาดากัสการ์ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[1]
มอริเชียส ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2381 (เป็นส่วนหนึ่งของบริติชมอริเชียส)
โทษ: จำคุกสูงสุด 5 ปี
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[43]
+ ลงนามสหประชาชาติ[1][44]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[45][46]
มายอต
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในดินแดน)[1]
ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
เรอูนียง
(ดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1791[1] ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส
เซเชลส์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[47]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]

แอฟริกาใต้

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แองโกลา โดยพฤตินัย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2429 (เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดแองโกลา)
โทษ: ปรับ กักกัน หรือ ลงอาญาด้วยการใช้แรงงาน (ไม่บังคับใช้)[1][48]
กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย[49][50]
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[51] อาจมีการเปลี่ยนแปลงเพศได้ตาม Código do Registro Civil 2015[52]
บอตสวานา ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2428 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาเบชัวนาแลนด์)
โทษ: ปรับ หรือ จำคุกสูงสุด 7 ปี (ไม่บังคับใช้)[1][2]
กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย[53]
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ รัฐธรรมนูญรับรองการเปลี่ยนแปลงเพศโดยชอบตั้งแต่ 2560[54]
สวาซิแลนด์ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ช่วงปี 2423
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1][2]
เลโซโท ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2555
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิงมาโดยตลอด[1]
อาจเปลี่ยนแปลงเพศได้ตาม มาตรา 9 แห่งรัฐบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน ค.ศ. 2011[55]
มาลาวี ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2434 (เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอารักขาไชร์ไฮแลนด์และเขตอารักขาเนียซาแลนด์)
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปีและเฆี่ยน (กฎหมายดังกล่าวถูกระงับการใช้งานตั้งแต่ 2555)[1][56][2]
โมซัมบิก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[57][58] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1][45]
นามิเบีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2463 (เป็นส่วนหนึ่งของแอฟริกาตะวันตก-ใต้)[2]
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิงมาโดยตลอด[1][59][60]
ตาม มาตรา 81 แห่งรัฐบัญญัติการจดทะเบียนเกิด สมรส และตาย ค.ศ. 1963[61]
แอฟริกาใต้ ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2541
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การรับรู้การเป็นหุ้นส่วนชีวิตโดยจำกัดแบบไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2541; การสมรสเพศเดียวกันตั้งแต่ 2549 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2549 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2545 ตั้งแต่ 2541 ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ กฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติตีความรวมถึงอัตลักษณ์ทางเพศด้วย; การเปลี่ยนเพศโดยชอบอาจเกิดขึ้นได้หลังการผ่าตัดหรือกระบวนการทางการแพทย์
แซมเบีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2454 (เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทบริติชเซาท์แอฟริกาปกครองแห่งโรดีเซีย)
โทษ: จำคุกถึง 14 ปี[1][2]
ซิมบับเว ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชายตั้งแต่ 2434 (เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทบริติชเซาท์แอฟริกาปกครองแห่งโรดีเซีย)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1][2]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2556

ทวีปอเมริกา

อเมริกาเหนือ

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบอร์มิวดา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2537 (อายุที่ยินยอม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[62] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[63] สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[64]
แคนาดา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2512 (อายุที่ยินยอมและห้ามมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักในบางกรณี)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1][65]
หุ้นส่วนชีวิตในครอบครัวในรัฐโนวาสโกเชีย (2544)[66];
ทะเบียนคู่ชีวิตในรัฐควิเบก (2545)[67];
ความสัมพันธ์ซึ่งพึ่งพาอาศัยกันในผู้ใหญ่ในรัฐแอลเบอร์ตา (2546)[68];
ความสัมพันธ์ทางกฎหมายจารีตประเพณีในรัฐแมนิโทบา (2547)[69]
ชอบด้วยกฎหมายบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ปี 2546
ทั้งประเทศตั้งแต่ปี 2548
[70]
ชอบด้วยกฎหมายบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ปี 2539 ทั้งประเทศตั้งแต่ปี 2550[71] ตั้งแต่ 2535[72] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติและการประทุษวาจา การพยาธิวิทยาหรือการพยายามบำบัดทางรสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายในรัฐแมนิโทบาและรัฐออนแทรีโอตั้งแต่ 2558 (เสนอแล้วในเขตอำนาจศาลอื่น) บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนอัตลักษณ์หรือการแสดงออกทางเพศของตนและชื่อได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดแปลงเพศ และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจนรวมถึงการคุ้มครองอัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศตั้งแต่ 2560[73][74][75][76]
กรีนแลนด์
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเดนมาร์ก)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2476
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2539[77] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 การรับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2552[78] Joint adoption since 2016.[79] ตั้งแต่ 2521 (ความรับผิดชอบของเดนมาร์ก)/ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]
เม็กซิโก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2414
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
/ การจดทะเบียนคู่ชีวิตในเม็กซิโกซิตี (2550), รัฐโกอาวีลา (2550),[80] รัฐโกลีมา (2556),[81] รัฐกัมเปเช (2556),[82] รัฐฮาลิสโก (2557)[83]/ ชอบด้วยกฎหมายในเม็กซิโกซิตี (2553),[84] รัฐกินตานาโร (2555),[85] รัฐโกอาวีลา (2557), รัฐชีวาวา (2558), รัฐเกร์เรโร (2558), รัฐนายาริต (2558), รัฐฮาลิสโก (2016), รัฐกัมเปเช (2016), รัฐมิโชอากัง (2559), รัฐโกลีมา (2559), รัฐโมเรโลส (2559)
รัฐทั้งหมดต้องให้เกียรติการสมรสเพศเดียวกันในรัฐที่ชอบด้วยกฎหมาย[84]
(เสนอทั่วประเทศแล้ว)[86][87]

ศาลสูงสุดประกาศว่าการปฏิเสธทะเบียนสมรสของคู่รักเพศเดียวกันในทุกรัฐถือว่าเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ[88] แต่เนื่องจากรัฐธรรมนูญของรัฐนั้นเป็นโมฆะคำสั่งแต่ละกรณีจะต้องมาจากศาล[89][90]

/ ชอบด้วยกฎหมายอย่างชัดเจนในเม็กซิโกซิตี (2553)[91], รัฐโกอาวีลา (2557), รัฐมิโชอากัง (2559), รัฐโกลีมา (2559) [92]
ทั่วประเทศ คู่รักเพศเดียวกันที่สมรสแล้วอาจรับบุตรบุญธรรมได้[93]
รัฐธรรมนูญต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[94] คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศของตนและชื่อได้อย่างชอบด้วยกฎหมายในเม็กซิโกซิตีตั้งแต่ 2551[95] เม็กซิโกได้ลงมติยอมรับพิธีสารชอบด้วยกฎหมายสำหรับอัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศในปี 2557 ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อปกป้องสิทธิและความเท่าเทียมกันของพลเมืองทุกคน[96]
แซ็งปีแยร์และมีเกอลง
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[97] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[98] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[99] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ภายใต้กฎหมายแห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ 2560 การทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศได้ถูกยกเลิกไปแล้ว[100]
สหรัฐอเมริกา ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2505 ทั้งประเทศตั้งแต่ 2546
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
หุ้นส่วนชีวิตในครอบครัวในรัฐแคลิฟอร์เนีย (2542),[101] วอชิงตัน ดี.ซี. (2545),[102] รัฐเมน (2547),[103] รัฐออริกอน (2551),[104] รัฐแมริแลนด์ (2551),[105] รัฐวิสคอนซิน (2552)[106] and รัฐเนวาดา (2552)[107];
การจดทะเบียนคู่ชีวิตในรัฐนิวเจอร์ซีย์ (2550),[108] รัฐอิลลินอยส์ (2554),[109] รัฐฮาวาย (2555),[110] และรัฐโคโลราโด (2556)[111]
ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2547
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2555
ยกเว้นอเมริกันซามัวและบางอำนาจศาลชนเผ่า[112][113]
ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2536
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2558 ยกเว้นอเมริกันซามัว[113]
/ ตั้งแต่ 2554[114][115]/ คำสั่งของรัฐบาลกลางห้ามมิให้มีการเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศของพนักงานในพนักงานพลเรือนของรัฐบาล พร้อมกับการจ้างงานของวอชิงตัน ดี.ซี. และบริการไปรษณีย์สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ 2541 (ดูที่ คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 12968 และ คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13087) การพยาธิวิทยาหรือการพยายามบำบัดทางรสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐ (มีการห้ามในรัฐแคลิฟอร์เนีย รัฐคอนเนตทิคัต รัฐอิลลินอยส์ รัฐนิวเม็กซิโก รัฐเวอร์มอนต์ รัฐนิวยอร์ก รัฐเนวาดา รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐออริกอน รัฐโรดไอแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และในบางเมืองเช่น ไมอามีบลีช ซินซินแนติ พิตต์สเบิร์ก และ ซีแอตเทิล) รวมอยู่ในกฎหมายอาชญากรรมการเกลียดชังของรัฐบาลกลางตั้งแต่ 2552
(การเลือกปฏิบัติในรสนิยมทางเพศในการจ้างงานทั้งในสาธารณะและส่วนบุคคล)
/ การเลือกปฏิบัติต่ออัตลักษณ์ทางเพศในการจ้างงานและการประกันสุขภาพถูกห้ามตั้งแต่ปี 2555[116][117] รวมอยู่ในกฎหมายอาชญากรรมการเกลียดชังของรัฐบาลกลางตั้งแต่ 2552 การเลือกปฏิบัติต่อรสนิยมทางเพศในการจ้างงานถูกห้ามตั้งแต่ปี 2558[118]
(การเลือกปฏิบัติในรสนิยมทางเพศในการจ้างงานทั้งในสาธารณะและส่วนบุคคล)

อเมริกากลาง

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบลีซ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[119] มาตรา 16(3) แห่งรัฐธรรมนูญตราไว้ว่าให้ต่อต้านอาชญากรรมซึ่งมีรากฐานจากเพศ เชื้อชาติ สถานที่เกิด ความคิดเห็นทางการเมือง ลักษณะภายนอกหรือหลักความเชื่อ[120] The ruling overturning Section 53 of the criminal code specifically stated "sex" as mentioned in Section 16(3) of the constitution, includes sexual orientation.[121][122] บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้โดยชอบโดยมิต้องผ่านการศัลยกรรม

การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต[123]

คอสตาริกา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2514
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่รวมกันโดยไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2557;
(เตรียมการจดการอยู่กินโดยฑฤตินัย)[124][125]
(รอคำพิพากษาของศาล)(รอคำพิพากษาของศาล) แอลจีบีทีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[126]ไม่มีทหาร ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1] บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้โดยชอบโดยมิต้องผ่านการศัลยกรรมหรือผ่านการอนุญาตโดยกฎหมายตั้งแต่ 2561[127]

การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต

เอลซัลวาดอร์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ช่วงปี 2343
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
(กำลังเตรียมการบัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญ) [128] (กำลังเตรียมการบัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญ) [128][129] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[129] ต่อต้านอาขญากรรมที่ขึ้นกับอัตลักษณ์ทางเพศ[130][131]

บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมาย โดยต้องมีการอนุญาตทางกฎหมาย

การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต[132]

กัวเตมาลา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1800s
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
มีข้อยกเว้นแค่ Código de la Niñez y la Juventud (รหัสเรียกเด็กและเยาวชน), ได้รับการอนุมัติใน 2540, ซึ่งเพื่อช่วยปกป้องเด็กและเยาวชนจากปัญหาการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งรสนิยมทางเพศทั้งของตนเองและบุพการี บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมาย โดยต้องมีการอนุญาตทางกฎหมาย[133]

การเปลี่ยนแปลงเพศไม่ได้รับการอนุญาต

ฮอนดูรัส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2442
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
บัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2548[134][135] บัญญัติห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2548[134][135] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ รวมถึงการประทุษวาจาด้วย[136] ต่อต้านอาขญากรรมที่ขึ้นกับอัตลักษณ์ทางเพศ[1]

ไม่ทราบว่าการเปลี่ยนแปลงเพศชอบด้วยกฎหมายหรือไม่

นิการากัว ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2551
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]
ปานามา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2551
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
(รอคำพิพากษาของศาล) (รอคำพิพากษาของศาล)ไม่มีทหาร ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[137]

(Anti-discrimination law proposed).[138]

บุคคลซึ่งเป็นบุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงชื่อตนได้ชอบตามกฎหมายหลังจากการผ่าตัดแปลงเพศเสร็จสิ้นแล้ว ตั้งแต่ 2549[139] Legal name change, without surgeries, is allowed since 2016.[140]

แคริบเบียน

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แองกวิลลา
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน
แอนติกาและบาร์บูดา ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 15 ปี (ไม่บังคับใช้)[1]
อารูบา
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2559[141]/ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[142] เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน
บาฮามาส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534;
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
[1]
บาร์เบโดส ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)[1] กำลังดำเนินการให้ชอบด้วยกฎหมาย
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[143]
เนเธอร์แลนด์แคริบเบียน
(โบแนเรอ, ซาบา และ ซินต์เอิสตาซียึส เป็นเทศบาลพิเศษของเนเธอร์แลนด์)
ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในเทศบาลเหล่านี้)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
[144] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555[145][146] เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[147][148]
หมู่เกาะเคย์แมน
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544; มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้[1]
+ ลงนามสหประชาชาติ
/ คู่รักเพศเดียวกันได้รับการยอมรับเพื่อจุดประสงค์ในการเข้าเมืองตั้งแต่ 2559 กำลังเตรียมคำพิพากษาของศาล[149] สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน
คิวบา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2519; กำลังเตรียมการทำให้ชอบด้วยกฎหมาย[1] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[150][151] บุคคลข้ามเพศได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนแปลงเพศได้ภายหลังจากการดำเนินการทางเพศ[152]
กือราเซา
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
กำลังดำเนินการ/ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[142] เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน
ดอมินีกา ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 10 ปี หรือกักขังในสถาบันจิตวิทยา (ไม่บังคับใช้)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
สาธารณรัฐโดมินิกัน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2365
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[153][154]
เกรเนดา ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]
ไม่มีทหาร
กัวเดอลุป
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[97] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[98] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[100]
ไฮติ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334 (ในฐานะเป็นแซ็ง-ดูมังเก)[1]ไม่มีทหาร
จาเมกา ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ใช้แรงงานอย่างหนัก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2505
มาร์ตีนิก
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[97] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[98] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[100]
มอนต์เซอร์รัต
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2553[155] สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[156]
ปวยร์โตรีโก
(คอมมอนเวลท์ของสหรัฐ)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546 ตั้งแต่ 2558 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[157] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน[114][158] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2561; ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัด
แซ็ง-บาร์เตเลมี
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[97] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[98] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[100]
เซนต์คิตส์และเนวิส ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]
เซนต์ลูเชีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ปรับ และ/หรือ พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]
ไม่มีทหาร
เซนต์มาร์ติน
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อตกลงการเป็นหนึ่งเดียวตั้งแต่ 2542[97] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[98] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[100]
เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับ และ/หรือ พิพากษาจำคุก 10 ปี (ไม่บังคับใช้)[1]
ไม่มีทหาร
ซินต์มาร์เติน
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์)
ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
/ การจดทะเบียนสมรสทำได้ในประเทศเนเธอร์แลนด์[142] เนเธอร์แลนด์รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน
ตรินิแดดและโตเบโก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2561[159]
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2554[160] สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
(ดินแดนของสหรัฐ)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2528 ตั้งแต่ 2558[113] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[113] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[113] สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน[114][158]

อเมริกาใต้

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อาร์เจนตินา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2396
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่กินด้วยกันในบัวโนสไอเรส (2546),[161] รัฐริโอเนโกร (2546),[162] วิลลากาโลสปาซ (2550) และ รีโอกวาร์โต (2552)
การอยู่กินด้วยกันทั่วประเทศตั้งแต่ 2015[163]
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[164] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553 ตั้งแต่ 2552[165]/ กฎหมายปกป้องในบางเมือง;[166]
กำลังดำเนินการทั้งประเทศ
การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553
คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2555[167]
โบลิเวีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2375
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
รัฐธรรมนูญห้ามใน การอยู่กินเสรี ตั้งแต่ 2552;[168]
Family life agreement pending[169]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2552[170] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นฝ่ายรับบุตรบุญธรรม แต่ไม่ใช่ในฐานะคู่[171] ตั้งแต่ 2558[172][173][174] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1] คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2559[175][176][177][178]
บราซิล ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2374
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
"การอยู่กินอย่างคงตัว" ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2547; รับรองในฐานะครอบครัวทั่วประเทศตั้งแต่ 2554[179][180] ชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐตั้งแต่ 2555, ทั่วประเทศตั้งแต่ 2556[181][182] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[183][184]/ ต่อต้านในทุกรัฐของบราซิล (ยกเว้นรัฐโตกันชีนส์), รวมถึงเขตสหพันธรัฐ; กำลังดำเนินการขยายกฎหมายต่อต้านการการเลือกปฏิบัติทั่วประเทศ[185] การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542[186][187] คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้โดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือคำสั่งทางกฎหมายตั้งแต่ 2561[188][189][190]
ชิลี ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542;
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2558[191] กำลังเสนอ[192] กำลังเสนอ[193] ตั้งแต่ 2555[194] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[195] คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อของตนได้ภายหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์โดยสมบูรณ์และได้รับอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2550[196] ปัจจุบัน ด้วยกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศที่กว้างขึ้น (กำเปลี่ยนเพศโดยไม่ต้องมีการผ่าตัดหรือการอนุญาตทางกฎหมาย) เริ่มมีการพูดคุยกันในรัฐสภาแล้ว[197]
โคลอมเบีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2524
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ภาวะสมรสโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2550[198] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[199] รับบุตรบุญธรรมได้ตั้งแต่ 2557;[200] รับร่วมกันได้ตั้งแต่ 2558[201] ตั้งแต่ 1999[1] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[202] ตั้งแต่ 2558, คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศและชื่อแสดงตนของตนได้เป็นพิธีก่อนที่จะมีการรับรอง ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดหรือมีคำสั่งทางกฎหมาย[203]
เอกวาดอร์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2540
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่กินโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2552[204][205] รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2552; กำลังดำเนินการพิพากษาของศาล[206] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจรับบุตรบุญธรรม แต่รับร่วมกันไม่ได้[207][208] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[209]
การระบุว่าคนข้ามเพศคือความเจ็บป่วยในทางการแพทย์หรือพยายามบำบัดรักษารสนิยมทางเพศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตไม่ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557
ตั้งแต่ 2559, คนข้ามเพศได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อกำเนิดและอัตลักษณ์ทางเพศได้ (แทนเพศที่ถูกกำหนดมาเมื่อเกิด) บนเอกสารราชการได้ ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัดหรือคำสั่งทางกฎหมาย[210][211][212]
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2532
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2560[213] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[213] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[214]
เฟรนช์เกียนา
(จังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2334
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่ง ตั้งแต่ 2542[97] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[98] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[99] ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[12] ภายใต้กฎหมายฝรั่งเศส[100]
กายอานา ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกสูงสุดตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)[1]
[215][216]
ปารากวัย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2423; มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2535[217] รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 1992; court decision pending[218] ดำเนินการแล้ว[219]
เปรู ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2467
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
กำลังดำเนินการ[220] กำลังดำเนินการคำพิพากษาของศาล ตั้งแต่ 2552[221] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[222][223][224][225][226] คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนชื่อและเพศของตนได้โดยชอบ โดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์โดยสมบูรณ์และการอนุญาตทางกฎหมายตั้งแต่ 2559[227][228]
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร) ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[229] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[229] สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน
ซูรินาม ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2412 (ในฐานะดัชต์เกียนา);
มีข้อแตกต่างในอายุที่ยินยอมให้ร่วมประเวณีได้
+ ลงนามสหประชาชาติ
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[230] กำลังดำเนินการคำพิพากษาของศาล[231][232]
อุรุกวัย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2477
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่กินด้วยกันโดยไม่ได้สมรสตั้งแต่ 2551[233] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[234] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[235] ตั้งแต่ 2009[236] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[237] คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนแปลงเพศและชื่อได้โดยชอบตั้งแต่ 2552[238]
เวเนซุเอลา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2540
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ดำเนินการแล้ว รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2540;
กำลังดำเนินการคำพิพากษาของศาล[239]
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]

ทวีปเอเชีย

เอเชียกลาง

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
คาซัคสถาน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541[1][240][241]
คีร์กีซสถาน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541[1] รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2559[242][241]
ทาจิกิสถาน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541[1][241]
เติร์กเมนิสถาน ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 2 ปี
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]
อุซเบกิสถาน ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]

ยูเรเซีย

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อับคาเซีย ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534
แอโครเทียรีและดิเคเลีย
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ตั้งแต่ 2548 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 บริติชรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[243]
อาร์มีเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2558[244][245]/ ไม่มีการห้ามอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม บุคคลเพศทางเลือกจะถูกขับออกโดยรายงานด้วยเหตุผลด้านรสนิยมทางเพศ[246]
คาราบัค ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543 ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2549 [247]
อาเซอร์ไบจาน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543[1] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)[248]
ไซปรัส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ตั้งแต่ 2558 ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[249] ห้ามการเลือกปฏิบัติที่ขึ้นกับอัตล๊กษณ์ทางเพศ
จอร์เจีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
(เสนอห้ามในรัฐธรรมนูญ) ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[250] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)[248]
นอร์เทิร์นไซปรัส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[251][252][1] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[251][252] ห้ามการเลือกปฏิบัติโดยใช้ถ้อยคำที่แสดงความเกลียดชังตั้งแต่ 2557[251][252]

ไม่ทราบถึงกฎหมายการเปลี่ยนเพศ

รัสเซีย ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายตลอด[253][1]
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในสาธารณรัฐเชเชน
(เสนอห้ามในรัฐธรรมนูญ) ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม นโยบายห้ามถาม ห้ามบอกอย่างไม่เป็นทางการ (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)[248]
เซาท์ออสซีเชีย ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534
ตุรกี ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2401[1] (เสนอ)[254] (เสนอ)[254] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ)

เอเชียตะวันตก

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
บาห์เรน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2519 (อายุที่ยินยอม)[1]
อิหร่าน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: สำหรับผู้ชายเฆี่ยน 74 ทีสำหรับผู้ชายที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและประหารชีวิตสำหรับผู้ชายที่บรรลุนิติภาวะซึ่งสุขภาพจิตสมบูรณ์และถ้ายินยอม สำหรับผู้หญิงเฆี่ยน 50 ทีสำหรับผู้หญิงที่บรรลุนิติภาวะซึ่งสุขภาพจิตสมบูรณ์และถ้ายินยอม และประหารชีวิตหากกระทำผิดเป็นครั้งที่สี่[1]
การรับรู้เพศชอบด้วยกฎหมายในอิหร่านหากเกิดขึ้นกับการผ่าตัดแปลงเพศ[255]
อิรัก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[256]
อิสราเอล ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2506 (โดยพฤตินัย) และ 2531 (โดยนิตินัย)[257]
+ UN decl. sign.[1][258]
การอยู่ร่วมกันโดยไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2537/ ไม่มีการแต่งงานทางแพ่งสำหรับคู่รักเพศเดียวกันหรือคู่รักเพศตรงกันข้ามและการแต่งงานใด ๆ ที่ไม่ใช่ทางศาสนาถ้าเกิดขึ้นในประเทศ แต่การสมรสเพศเดียวกันในต่างประเทศจะได้รับการยอมรับโดยรัฐบาลและมีการบันทึกไว้ในทะเบียนราษฎร์โดยกระทรวงมหาดไทย การรับบุตรบุญธรรมของคู่รักเพศเดียวกันถูกปฏิเสธโดยพฤตินัย[259] Since 1993 ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์;[260][261] กฎหมายพื้นฐาน: ศักดิ์ศรีและอิสรภาพของมนุษย์นำมาใช้กับคนรักร่วมเพศและไปเซ็กซ์ชวล[262] การรับรู้อย่างเต็มที่ของเพศโดยปราศจากการผ่าตัดหรือการแทรกแซงทางการแพทย์;[263] การจ้างงานโดยเท่าเทียมกันบนกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติโดยอัตลักษณ์ทางเพศ;[264][265] กฎหมายพื้นฐาน: ศักดิ์ศรีและอิสรภาพของมนุษย์นำมาใช้กับคนที่แปลงเพศด้วย[264][266]
จอร์แดน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2494[1] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[267]
คูเวต ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: ปรับหรือจำคุกไม่เกิน 6 ปี
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายเสมอ[1][268]
เลบานอน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[269] การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย
โอมาน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับหรือจำคุกไม่เกิน 3 ปี (บังคับใช้เฉพาะเมื่อเป็น "เรื่องอื้อฉาวในสาธารณะ")[1]
ปาเลสไตน์ (ฉนวนกาซา)เวสท์แบ็งก์:
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2494 (เป็นส่วนหนึ่งของจอร์แดน)[1]
กาซา:
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: (โดยพฤตินัย) ประหาร/ดำเนินคดีอาญาพิเศษ (โดยนิตินัย) จำคุกถึง 10 ปี
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมาย[1]
กาตาร์ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับและจำคุกถึง 7 ปี[1] หรือประหารชีวิต[270].
ซาอุดีอาระเบีย ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกหลายเดือนหรือตลอดชีวิต, ปรับ และ/หรือ เฆี่ยน/โบย, ทำหมัน, ทรมานร่างกาย หรือประหารชีวิตหากทำความผิดครั้งที่สอง[1]
ซีเรีย ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 3 ปี (กฎหมายถูกระงับโดยพฤตินัย)[271][1]
บุคคลข้ามเพศได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนเพศ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ไม่ชอบด้วยกฎหมายตามหฎหมายสหพันธรัฐ
โทษ: เนรเทศ ปรับ จำคุก หรือประหารชีวิต[270]
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเอมิเรตส์ดูไบ
โทษ: จำคุกถึง 14 ปี
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเอมิเรตส์อาบูดาบี
โทษ: จำคุกถึง 10 ปี[1]
การผ่าตัดแปลงเพศสำหรับบุคคลที่มีเพศไม่ชัดเจนหรือบุคคลที่มีลักษณะทางกายภาพไม่ตรงกับสภาพทางสรีรวิทยา ชีววิทยา และลักษณะทางพันธุกรรม[272][273][274]
เยเมน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ลงโทษชายที่ยังไม่ได้สมรสด้วยการเฆี่ยน 100 ทีหรือจำคุกสูงสุดหนึ่งปี สำหรับชายที่สมรสแล้วโทษประหารชีวิตโดยการขว้างหิน ลงโทษหญิงด้วยการจำคุกถึง 3 ปี; เมื่อกระทำความผิดโดยขมขู่การลงโทษจะยาวนานถึงเจ็ดปี[1]

เอเชียใต้

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อัฟกานิสถาน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุก 10 ปีถึงตลอดชีวิต[1]
มีเพศที่สาม (ฮิจรา) นอกจากเพศชายและเพศหญิง[275]
บังกลาเทศ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุก 10 ปีหรือตลอดชีวิต[1]
ตัวเลือกที่สาม (ฮิจร่า) มีให้เลือกนอกเหนือจากชายและหญิง[276]
ภูฏาน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกถึง 1 ปี (ไม่บังคับใช้)[1]
บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราขอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2548 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 สหราชอาณาจักรรับผิดชอบการป้องกันดินแดน
อินเดีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ พ.ศ. 2561[277] เสนอแล้ว[278] เสนอแล้ว[278] เสนอแล้ว มีการรับรองว่าชอบด้วยกฎหมายจากศาล แต่ปัจจุบันยังไม่มีการยอมรับจากทางกองทัพเอง[279]; มีการเสนอกฎหมายเพิ่มเติม/ ห้ามการเลือกปฏิบัติในหน่วยงานรัฐและรัฐบาลเท่านั้น ตัวเลือกที่สาม (ฮิจร่า) มีให้เลือกนอกเหนือจากชายและหญิง, บุคคลข้ามเพศมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญในการเปลี่ยนเพศ[280]
มัลดีฟส์ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: สำหรับผู้ชายโทษเนรเทศเป็นเวลาเก้าเดือนถึงหนึ่งปีหรือเฆี่ยน 10 ถึง 30 ครั้ง สำหรับผู้หญิงโทษกักบริเวณเป็นเวลาเก้าเดือนถึงหนึ่งปี[1]
เนปาล ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
เสนอแล้ว เสนอแล้ว เสนอแล้ว รัฐธรรมนูญต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติตั้งแต่ 2558 การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
รัฐธรรมนูญต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติ[281]
ปากีสถาน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุก 2 ปีถึงตลอดชีวิต[1]
มีสิทธิเปลี่ยนเพศ; คนแปลงเพศและกะเทยได้รับการคุ้มครองจากทุกการเลือกปฏิบัติและการละเมิด[282]
ศรีลังกา อย่างน้อยที่สุดมีคำพิพากษาให้ไม่บังคับใช้การลงโทษโดยศาลสูง, รายงานต่าง ๆ รายงานว่ามีการลดโทษลงในระบบกฎหมายของศรีลังกา[283]

[284]

[285][286] บุคคลที่เป็นทรานส์สามารถเปลี่ยนเพศและชื่อได้ชอบด้วยกฎหมายหลังจากการผ่าตัดแปลงเพศตั้งแต่ 2559[287][288]

เอเชียตะวันออก

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
จีน
(สาธารณรัฐประชาชน)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2540[1] บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว
ฮ่องกง
(เขตปกครองพิเศษของจีน)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534[1] อาจรับบุตรบุญธรรมโดยฝ่ายหนึ่ง[289]
สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นผู้รับผิดชอบในการป้องกันฮ่องกง โดยไม่คำนึงถึงรสนิยมทางเพศ ทหารจะไม่ได้รับเลือกใหม่จากฮ่องกง[ต้องการอ้างอิง]
เฉพาะพนักงานของรัฐบาล สินค้าและบริการเท่านั้น บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว
มาเก๊า
(เขตปกครองพิเศษของจีน)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2539[1]
สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นผู้รับผิดชอบในการป้องกันมาเก๊า โดยไม่คำนึงถึงรสนิยมทางเพศ ทหารจะไม่ได้รับเลือกใหม่จากมาเก๊า
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว
ญี่ปุ่น ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2423
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
/ การเป็นคู่ครองแบบไม่ผูกพันตามกฎหมายใน 6 เขตอำนาจศาลเทศบาล (ชิบูยะ เซตางายะ อิงะ ทาการาซูกะ นาฮะ และซัปโปโระ)/ ไม่ใช่การปกป้องแบบทั่วประเทศ แต่บางนครนั้นต่อต้านการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1] (การต่อต้านการเลือกปฏิบัติทั่วประเทศอยู่ระหว่างเสนอ) บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้แต่ต้องหลังจากการศัลยกรรมการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว และในกรณีบุคคลธรรมดาที่ไม่มีบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี
มองโกเลีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2504
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
เนื่องจากการเกณฑ์ทหาร ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้
เกาหลีเหนือ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[1]
ไม่ทราบแม้ว่าจะมีการกำหนดบทบาททางเพศมากมายทั้งชายและหญิง ดูที่หนังสือให้ตัดผมตามวิถีทางการดำเนินชีวิตแบบสังคมนิยม
เกาหลีใต้ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)
+ ลงนามในสหประชาชาติ[1]
(เสนอการเป็นหุ้นส่วนชีวิต) บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้
ไต้หวัน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2438[290] ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2560[291]/(จะชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2562[292]) (การเสนอ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจรับบุตรบุญธรรม) เนื่องจากการเกณฑ์ทหาร ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ (ในการทำงานและการศึกษา) บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศตามกฎหมายได้ ไม่จำเป็นต้องมีการผ่าตัดตั้งแต่ปี 2558[293]

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
บรูไน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: ปรับและจำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือ ประหารโดยการขว้างหิน[294]
พม่า ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: มากถึงจำคุกตลอดชีวิต (ไม่บังคับใช้)[294]
กัมพูชา ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[294]
ห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 แม้ว่าจะมีตัวอย่างของการจดทะเบียนที่ถูกต้องตามกฎหมายและเป็นที่ยอมรับในการสมรสเพศเดียวกัน
ติมอร์ตะวันออก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ พ.ศ. 2518
และลงนามสหประชาชาติ[294]
ห้ามการการเกลียดชังในอาชญากรรมที่ขึ้นกับรสนิยมทางเพศ
อินโดนีเซีย ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศ, เว้นแต่;
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในบางจังหวัด ได่แก่ อาเจะฮ์ และ สุมาตราใต้ (ซึ่งใช้เฉพาะกับชาวมุสลิม)[295][296][294] (อายุมีผลในการได้รับการยินยอม)
[297] บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศได้ตามกฎหมาย
ลาว ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันในประเทศ)[294]
มาเลเซีย ไม่ชอบด้วยกฎหมายในผู้ชาย
โทษ: ปรับและจำคุก (2-20 ปี) หรือเฆี่ยน[1][298]
ฟิลิปปินส์ ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2476[299][294][300] (ดำเนินการ)[299] (ดำเนินการ)[301] อาจรับบุตรบุญธรรมได้[302] ตั้งแต่ พ.ศ. 2552[303] เซบู[304] เมืองเคซอน, Davao[305] และอัลเบย์มีกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติ[306] (ดำเนินการ)[307]
สิงคโปร์ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในผู้ชาย
โทษ: จำคุกไม่เกิน 2 ปี (ไม่บังคับใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2542)
ชอบด้วยกฎหมายในผู้หญิงตั้งแต่ พ.ศ. 2550[294]
เนื่องจากการเกณฑ์ทหาร แต่เกย์จะไม่ได้รับอนุญาตให้ทำงานในโรงเรียนหรือหน่วยงานที่มีความสำคัญ บุคคลข้ามเพศสามารถเปลี่ยนเพศของตนได้อย่างชอบด้วยกฎหมาย แต่ต้องผ่านการผ่าตัดแปลงเพศแล้วเท่านั้น
ไทย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ พ.ศ. 2499
+ และลงนามสหประชาชาติ[294]
กำลังเสนอ[308] กำลังเสนอ[309] ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ มีการต่อต้านการเลือกปฏิบัติในการแสดงออกทางเพศ[298][310][311]
เวียดนาม ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในประเทศ)[294]
[312] การเปลี่ยนแปลงเพศสามารถยอมรับได้สำหรับคนที่มีข้อบกพร่องทางเพศโดยกำเนิด และการผ่าตัดแปลงเพศตั้งแต่ พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป

ทวีปยุโรป

สหภาพยุโรป

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
สหภาพยุโรป ชอบด้วยกฎหมายในทุก 28 รัฐสมาชิก[313]/ ชอบด้วยกฎหมายใน 22 จาก 28 รัฐสมาชิก
/ ชอบด้วยกฎหมายใน 14 จาก 28 รัฐสมาชิก
/ รับบุตรบุญธรรมได้ชอบด้วยกฎหมายใน 13 จาก 28 รัฐสมาชิก
รับบุตรเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรมได้ชอบด้วยกฎหมายใน 18 จาก 28 รัฐสมาชิก
/ ชอบด้วยกฎหมายใน 27 จาก 28 รัฐสมาชิก
การเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปขอให้รัฐต้องต่อต้านการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ในการจ้างงานเท่านั้น 3 จาก 28 รัฐสมาชิกต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ และ 25 จาก 28 รัฐสมาชิกต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์/ ชอบด้วยกฎหมายใน 27 จาก 28 รัฐสมาชิก[314]

ยุโรปกลาง

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
ออสเตรีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2514[1]
+ ลงนามสหประชาชาติ
จดทะเบียนคู่ชีวิตได้ตั้งแต่ 2553[315] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2562[316] รับบุตรเลี้ยงมาเป็นบุตรบุญธรรมได้ตั้งแต่ 2556
รับบุตรบุญธรรมร่วมกันได้ตั้งแต่ 2559[317][318]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[319]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย[248]
โครเอเชีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2520 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2557[320] ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่การลงประชามติในปี 2556[321]/ การเป็นผู้ปกครองร่วมกันตั้งแต่ 2557 (ความรับผิดชอบของผู้ปกครองและความสัมพันธ์ญาติสนิทถาวรระหว่างคู่ชีวิตและผู้ปกครองของเด็กจะถูกจดลงไว้ในสูติบัตรของเด็ก) ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7][322] รัฐบัญญัติการกำจัดการเลือกปฏิบัติ ต่อต้านการเลือกปฏิบัติทุกประเภทโดยอ้างอิงอัตลักษณ์ทางเพศของทั้งสองเพศและการแสดงออกทางเพศ การเปลี่ยนเพศถูกกำกับดูแลโดยนโยบายพิเศษของกระทรวงสาธารณสุข[323]
เช็กเกีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505 (เป็นส่วนหนึ่งของเชโกสโลวัก)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2549[324] กำลังเสนอ[325] แอลจีบีทีที่จดทะเบียนกันฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[326], การรับบุตรเลี้ยงและบุตรบุญธรรมร่วมกันกำลังเสนอ[327] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ได้รับการยินยอมทางกฎหมายและมีการปรับในสูติบัตรแม่แบบ:Not in source หลังจากการผ่าตัดแปลงเพศ (พร้อมการ mandatory sterilisation)[328]
เยอรมนี ชอบด้วยกฎหมายในเยอรมนีตะวันออกตั้งแต่ 2511
ชอบด้วยกฎหมายในเบอร์ลินตะวันตกและเยอรมนีตะวันตกตั้งแต่ 2512
+ ลงนามสหประชาชาติ[1][329]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2544[330] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[331] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[331] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[332][333] การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย[334]
ฮังการี ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2552[335] [336][337]
ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2555[338][339]
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม (เสนอการรับบุตรบุญธรรมและบุตรเลี้ยงบุญธรรมร่วมกัน)[337] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ไม่มีการรับรองทางกฎหมาย[328]
ลิกเตนสไตน์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2532
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู้ชีวิตตั้งแต่ 2554[340] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[341]ไม่มีทหาร (เสนอ)[ต้องการอ้างอิง] การเปลี่ยนเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย[328]
โปแลนด์ ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในประเทศ)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
[342][343] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม ห้ามรับโดยร่วมกัน[344] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7]
โรมาเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2539
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[345] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] กฎหมายยินยอมและปรับในสูติบัตรแม่แบบ:Not in source หลังจากการผ่าตัดแปลงเพศ (sterilisation mandatory)[328]
สโลวาเกีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2505 (เป็นส่วนหนึ่งของเชโกสโลวัก)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2557[346] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[347] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[348][349] (ร้องขอให้ทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[328])
สโลวีเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2520 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2549[350];
Unregistered cohabitation since 2017[351]
/ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2554[352] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมาย[353]
สวิตเซอร์แลนด์ ชอบด้วยกฎหมายทั่วประเทศใน 2485
ชอบด้วยกฎหมายในรัฐเจนีวา (เป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศส) รัฐตีชีโน รัฐวาเล และ รัฐโว ตั้งแต่ 2341
+ ลงนามสหประชาชาติ[1][354]
จดทะเบียนคู่ชีวิตในเจนีวา (2544),[355] ซือริช (2546),[356] เนอชาแตล (2547)[357] และฟรีบูร์ (2547)[357]
ทั่วประเทศตั้งแต่ 2550[358]
(เสนอ)[359]/ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ (ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์อยู่ระหว่างเสนอ)[360] เอกสารทางกฎหมายสามารถออกใหม่ได้โดยพิจารณาจากอัตลักษณ์ทางเพศใหม่ของบุคคล โดยเทคนิคจำเป็นต้องทำหมันด้วยแต่ไม่บังคับใช้แล้วตั้งแต่ 2555 การจดทะเบียนคู่ชีวิตสามารถเป็นการแต่งงานระหว่างคู่รักเพศตรงกันข้ามใหม่ได้[361]

ยุโรปตะวันออก

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อับคาเซีย ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534
อาร์มีเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
/ ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2558[362][363] การไปแต่งงานเพศเดียวกันในต่างประเทศได้รับการยอมรับในปี 2560[364]/ ไม่มีการห้ามอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม บุคคลเพศทางเลือกจะถูกขับออกโดยรายงานด้วยเหตุผลด้านรสนิยมทางเพศ[365]
นากอร์โน-คาราบัค ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534 ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2549 [366]
อาเซอร์ไบจาน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543[1][367] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[328])
เบลารุส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2537[1] ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2537 [368]/ ถูกห้ามจากการรับราชการทหารในช่วงเวลาสงบ แต่ระหว่างสงครามคนรักร่วมเพศจะได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมได้[369]
โดเนตสค์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534
(เป็นส่วนหนึ่งของยูเครน)[370][371]
จอร์เจีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
(ถูกเสนอให้ห้ามในรัฐธรรมนูญ)[372][373] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[374] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[328])
คาซัคสถาน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 1998[1][241]
ลูฮานสค์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2534
(เป็นส่วนหนึ่งของยูเครน)[370][375]
มอลโดวา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2538
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2537[376] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[328])
รัสเซีย ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายเสมอ[377][1]
(เสนอห้ามในรัฐธรรมนูญ)[378] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[328])
เซาท์ออสซีเชีย ชอบด้วยกฎหมายหลังจาก 2534
ทรานส์นีสเตรีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2545[379] (เสนอ)[380]
ยูเครน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2539[381] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[382]/ นโยบายขึ้นอยู่กับคณะกรรมาธิการภูมิภาค[383] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[384] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยน[328])

ยุโรปเหนือ

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เดนมาร์ก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2476
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2532 ถึง 2555 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[385] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555[386][387] รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2542
รับร่วมกันได้ตั้งแต่ 2553[388]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[389]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] เปลี่ยนเพศได้ตามกฎหมายและรับรองโดยไม่ต้องผ่าตัดหรือบำบัดด้วยฮอร์โมน[390]
เอสโตเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2535
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ลงนามข้อตกลงการอยู่ร่วมกันได้ตั้งแต่ 2559[391]/ การสมรสในต่างประเทศได้รับการยอมรับตั้ง 2559[392]/ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมได้ตั้งแต่ 2559 คู่รักที่ไม่สามารถมีบุตรได้อาจร่วมกันรับเด็กที่ไม่ใช่ทางชีวภาพมาเลี้ยงได้ตั้งแต่ 2559 ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] การโอนเพศชอบด้วยกฎหมาย[328]
หมู่เกาะแฟโร
(ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเดนมาร์ก)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2476
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
สมรสได้ตั้งแต่ 2560 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[393][394] (สำหรับคู่รักที่สมรสแล้ว) (เดนมาร์กรับผิดชอบในด้านการป้องกันดินแดน) ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[395][396][397]
ฟินแลนด์
(รวมทั้งหมู่เกาะโอลันด์)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2514
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2545 ถึง 2560 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[398] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[399] รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมตั้งแต่ 2552
รับบุตรบุญธรรมร่วมกันตั้งแต่ 2560
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายและยอมรับโดยต้องทำหมัน[400]
ไอซ์แลนด์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2483
(เป็นส่วนหนึ่งของเดนมาร์ก)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนการอยู่ร่วมกันตั้งแต่ 2549[401];
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2539 ถึง 2553 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[402]
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[403][404] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2549[405]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[406]
ไม่มีทหาร ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] สามารถแก้ไขเอกสารตามเพศที่รับรองได้[407][328]
ลัตเวีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2535
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2549[408] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[409] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] มีการแก้ไขเอกสารได้โดยไม่ต้องมีการแทรกแซงทางการแพทย์[410]
ลิทัวเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
(เสนอข้อตกลงการอยู่ร่วมกัน)[411] ถูกห้ามในรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2535[412] เฉพาะคู่รักที่แต่งงานกันเท่านั้น[413] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[414]
นอร์เวย์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2515
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2536 ถึง 2552 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[415] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[416][417] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[418]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[419]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] เอกสารทั้งหมดสามารถแก้ไขให้เป็นเพศที่รับรองได้[248]
สวีเดน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2487
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2538 ถึง 2552 (ทะเบียนคู่ชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[420] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2552[421] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[422]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[423]
[424] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7][425]

ยุโรปใต้

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
แอโครเทียรีและดิเคเลีย
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2543
+ ลงนามสหประชาชาติ[1][426][427]
(สำหรับสมาชิกกองกำลังบริติช)[428] (สำหรับสมาชิกกองกำลังบริติช)[429] สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุก[ต้องการอ้างอิง] การเลือกปฏิบัติต่อเกย์[430]
แอลเบเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2538
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ห้ามเลือกปฏิบัติตามอัตลักษณ์ทางเพศ[431]

ไม่มีกฎหมายรองรับ[328]

อันดอร์รา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2533
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การสมรสคงตัวตั้งแต่ 2548[432]; Civil union ตั้งแต่ 2557[128] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[433][128][434]ไม่มีทหาร ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ไม่มีกฎหมายรองรับ[328]
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541 ในสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา สาธารณรัฐเซิร์ปสกา ตั้งแต่ 2543 และ Brcko District ตั้งแต่ 2545
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชัง แต่ต้องผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนเพศ[435]
บัลแกเรีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2511
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2534[436] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[437] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ห้ามการเลือกปฏิบัติจากอัตลักษณ์ทางเพศ แต่ต้องทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[438][439]
ไซปรัส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2541
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนการอยู่ร่วมกันพลเมืองตั้งแต่ 2558[440] (เป็นเพียงประเทศเดียวในกลุ่มสหภาพยุโรปที่ห้ามกลุ่มคนหลากหลายทางเพศเข้ารับราชการทหาร/ไม่บังคับใช้)[441] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ห้ามการเลือกปฏิบัติจากอัตลักษณ์ทางเพศ[442]

การเปลี่ยนเพศไม่ชอบด้วยกฎหมาย

ยิบรอลตาร์
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
คู่ชีวิตพลเมืองตั้งแต่ 2557[443] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[444] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ (ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ถูกเสนอ)[445] (เสนอ)[446]
กรีซ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2494 + ลงนามสหประชาชาติ[1] ลงนามข้อตกลงการอยู่ร่วมกันตั้งแต่ 2558[447] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ไม่ร้องขอการทำหมันสำหรับการเปลี่ยนเพศอย่างชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 โดยศาลปกครอง[448]
อิตาลี ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2433
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2559[449][450][451][452] (เสนอ)[453][454][455]/ รับบุตรเลี้ยงบุญธรรมได้โดยศาลฎีกา[456][457].

ศาลฟลอเรนซ์สำหรับผู้เยาว์ยอมรับการรับบุตรบุญธรรมร่วมกันของคู่เกย์ชาวต่างชาติ[458]

ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ตั้งแต่ 2525 มีการยอมรับทางกฎหมายและแก้ไขเอกสารให้เป็นเพศที่รู้จักได้[459] ศาลฎีกาได้อธิบายเมื่อปี 2557 ว่าไม่จำเป็นต้องมีการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[460]
คอซอวอ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2537
(ส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)[1]
[461] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม[462][463] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[464] ไม่มีกฎหมายรองรับ[328]
มาซิโดเนีย ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2539
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
มอลตา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2516
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
จดทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2557[465] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557 ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ตั้งแต่ 2558[466]
มอนเตเนโกร ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2520 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2550[467][468] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ห้ามการเลือกปฏิบัติจากอัตลักษณ์ทางเพศ แต่ต้องทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[248][328]
นอร์เทิร์นไซปรัส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557[251][252][1] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[251][252] การเลือกปฏิบัติหรือแสดงความเกลียดชังด้วยคำพูดถูกต่อต้านตั้งแต่ 2557[251][252]

ไม่ทราบถึงกฎหมายการเปลี่ยนเพศ

โปรตุเกส ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การสมรสโดยพฤตินัยตั้งแต่ 2544[469][470] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553[471] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559 (+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[472][473][474] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์.[7] ตั้งแต่ 2554 เอกสารทั้งหมดสามารถเปลี่ยนให้เป็นเพศที่รู้จักได้[475]
ซานมารีโน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2408
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
/ การอยู่ร่วมกันแบบไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2555 (สำหรับสิทธิเดียวเท่านั้น); การจดทะเบียนคู่ชีวิตถูกเสนอ[476][477] เสนอการรับบุตรเลี้ยงบุญธรรม[478] ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ไม่มีกฎหมายรองรับ[248]
เซอร์เบีย ชอบด้วยกฎหมายนับจาก 2401 เมื่อเป็นเมืองขึ้นในนามของจักรวรรดิออตโตมัน ถึง 2403[479] และอีกครั้งตั้งแต่ 2537 (เป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวีย)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ถูกเสนอพร้อมกฎหมายครอบครัวฉบับใหม่ในปี 2560 ถูกห้ามโดยรัฐธรรมนูญตั้งแต่ 2549[480] ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550[481][482]
สเปน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2522
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การสมรสโดยพฤตินัยในแคว้นกาตาลุญญา (2541),[3] แคว้นอารากอง (2542),[3] แคว้นนาวาร์ (2543),[3] แคว้นคาสตีล-ลามันชา (2543),[3] บาเลนเซีย (2544),[483] the หมู่เกาะแบลีแอริก (2544),[484] แคว้นมาดริด (2544),[3] แคว้นอัสตูเรียส (2545),[485] แคว้นคาสตีลและเลออน (2545),[486] แคว้นอันดาลูซิอา (2545),[3] the หมู่เกาะคะแนรี (2546),[3] แคว้นเอซเตรมาดูรา (2003),[3] แคว้นบาสก์ (2546),[3] แคว้นกันตาเบรีย (2548),[487] แคว้นกาลิเซีย (2551)[488] และ แคว้นลารีโอคา (2553)[489] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[490] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548[491]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[492]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ตั้งแต่ 2550 สามารถแก้ไขทุกเอกสารตามเพศที่รับรองได้[493]
ตุรกี ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2401[1] (เสนอ)[254] (เสนอ)[254] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[494])
นครรัฐวาติกัน ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2433 (เป็นส่วนหนึ่งของอิตาลี)[1]ไม่มีทหาร

ยุโรปตะวันตก

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
เบลเยียม ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ 2338
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่ร่วมกันตามกฎหมายตั้งแต่ 2543[495] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[496][497][498] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2546[499]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[500]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนขื่อไม่จำเป็นในการเปลี่ยนเพศแล้ว และ การเปลี่ยนเพศ (ทั้งทางกฎหมายและกายภาพ) ไม่จำเป็นต้องทำหมัน[501].
ฝรั่งเศส ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ 2334
ชอบด้วยกฎหมายในซาวอยตั้งแต่ 2335
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2542[502] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[503] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[504] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[7] ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน[505]
เกิร์นซีย์
(คราวน์ดีเพนเดนซีของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[506][507][1]
/ การเป็นหุ้นส่วนชีวิตในนอกสหราชอาณาจักรได้รับการยอมรับเพื่อวัตถุประสงค์ด้านมรดกและอื่น ๆ ในด้านทรัพย์สินตั้งแต่ 2555 การเป็นคู่ชีวิตได้รับการยอมรับตั้งแต่ 2560 (ไม่นำมาใช้ในชาร์ก)[508][509][510] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[511]
ไม่นำมาใช้ในชาร์กและอัลเดอร์นีย์ แม่แบบ:Not in source[ต้องการอ้างอิง]
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[512] สหราชอาณาจักรรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[513] กฎการต่อต้านการเลือกปฏิบัติ 2547 การเปลี่ยนเพศชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550: เฉพาะหลักกฎหมายที่ถือเอาคำพิพากษาเป็นบรรทัดฐานเท่านั้น อนุญาตให้มีการออกสูติบัตรฉบับใหม่เท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขหรือลบสูติบัตรฉบับเดิมได้ ในอัลเดอร์นีย์และชาร์กนั้นไม่ชัดเจน อาจขยายไปถึงเฮิร์ม[513][514]
ไอร์แลนด์ ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2536
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายมาตลอด
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การเป็นหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2554 ถึง 2558 (ทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตที่จดไว้ยังคงอยู่)[515] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 หลังจากการลงประชามติรัฐธรรมนูญ[516] รับบุตรร่วมกันตั้งแต่ 2559 การรับบุตรเลี้ยงบุญธรรมไม่ชอบด้วยกฎหมายสำหรับทุกคู่ แต่ผู้ปกครองโดยกำเนิดและคู่ครองสามารถรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมร่วมได้[517][518][519][520]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[521]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[522][523][524] รัฐบัญญัติการยอมรับเพศ 2558 [525]
ไอล์ออฟแมน
(คราวน์ดีเพนเดนซีของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2535
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การเป็นหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2554[526] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[527] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2554 สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[528] บุคคลที่มีภาวะอยากแปลงเพศ ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนเพศตามกฎหมายของตนได้และมีเพศใหม่ที่ยอมรับได้ตามผลของ พระราชบัญญัติการยอมรับเพศ 2552 (c.11).[529][530]
เจอร์ซีย์
(คราวน์ดีเพนเดนซีของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2533
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การเป็นหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2555[531] (เสนอ)[532] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2555 สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[533] กฎหมายการยอมรับเพศ (เจอร์ซีย์) 2553[534]
ลักเซมเบิร์ก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2338
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การจดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2547[535] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[536][537] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[538] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[539] (ร้องขอการทำหมันเพื่อเปลี่ยนเพศ[328])
โมนาโก ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2336
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
(เสนอ)[540] ฝรั่งเศสรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]
เนเธอร์แลนด์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2354
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การจดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2541[541] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544[542] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544[543]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[544]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[545][546]
สหราชอาณาจักร ในเพศชายชอบด้วยกฎหมายในอังกฤษและเวลส์ตั้งแต่ 2510 ในสกอตแลนด์ตั้งแต่ 2524 และในไอร์แลนด์เหนือตั้งแต่ 2525
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายมาตลอด
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การจดทะเบียนหุ้นส่วนชีวิตตั้งแต่ 2548[547] ชอบด้วยกฎหมายในอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์ตั้งแต่ 2557[548][549]
ทำไม่ได้ในไอร์แลนด์เหนือ
ชอบด้วยกฎหมายในอังกฤษและเวลส์ตั้งแต่ 2548 ในสกอตแลนด์ตั้งแต่ 2552 และในไอร์แลนด์เหนือตั้งแต่ 2556[550][551]
(+รับรองการดูแลร่วมกันโดยอัตโนมัติ)[552]
ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[553][1] พระราชบัญญัติการรับรองเพศ 2547

ทวีปโอเชียเนีย

ออสตราเลเซีย

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
ออสเตรเลีย
(รวมทั้งดินแดน
 เกาะคริสต์มาส,
 หมู่เกาะโคโคส และ
 เกาะนอร์ฟอล์ก)
ชอบด้วยกฎหมายในรัฐเซาท์ออสเตรเลียตั้งแต่ 2515 ในรัฐวิกทอเรียตั้งแต่ 2524 รัฐนิวเซาท์เวลส์ตั้งแต่ 2526 ใน นอร์เทิร์นเทร์ริทอรีตั้งแต่ 2527 ในออสเตรเลียนแคพิทอลเทร์ริทอรีตั้งแต่ 2528 ในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียตั้งแต่ 2533 ในรัฐควีนส์แลนด์ตั้งแต่ 2534 ในเกาะนอร์ฟอล์กตั้งแต่ 2536 และ ในรัฐแทสเมเนียตั้งแต่ 2540
ชอบด้วยกฎหมายในเกาะคริสต์มาสและหมู่เกาะโคโคส (คีลิง)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่ร่วมกันโดยไม่จดทะเบียนระดับชาติตั้งแต่ 2552

หุ้นส่วนชีวิตในแทสเมเนีย (2547)[554] เซาท์ออสเตรเลีย (2550)[555] วิกทอเรีย (2551)[556] นิวเซาท์เวลส์ (2553)[557] and ควีนแลนด์ (2555)[558];
การจดทะเบียนคู่ชีวิตในออสเตรเลียนแคพิทอลเทร์ริทอรี (2555)[559]

ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2560[560] การรับบุตรบุญธรรมร่วมกันชอบด้วยกฎหมายในบางรัฐและดินแดนตั้งแต่ 2545, ชอบด้วยกฎหมายทั้งประเทศตั้งแต่ 2561 ตั้งแต่ 2535[561] ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[562][562]
นิวซีแลนด์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2529
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
การอยู่ร่วมกันโดยไม่จดทะเบียนตั้งแต่ 2545;
ทะเบียนคู่ชีวิตตั้งแต่ 2548
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[563] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556[563] ตั้งแต่ 2536 ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ครอบคลุมภายใต้เงื่อนไข "การเลือกปฏิบัติทางเพศ" ของพระราชบัญญัติสิทธิมนุษยชน 2536 ตั้งแต่ 2549

เมลานีเซีย

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
ฟิจิ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2553
+ ลงนามสหประชาชาติ[564][1]
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[1]
นิวแคลิโดเนีย
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในอาณานิคม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2552 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ความรับผิดชอบของฝรั่งเศส ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน
ปาปัวนิวกินี ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 3 ถึง 14 ปี (ไม่บังคับใช้)
ในเพศหญิงชอบด้วยกฎหมายมาตลอด[1]
หมู่เกาะโซโลมอน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปี[1]
ไม่มีทหาร ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด (คาดว่าจะนำมาใช้แทนรัฐธรรมนูญเดิมในปลายปี 2559) อนุญาตให้มีการเลือกปฏิบัติอย่างชัดเจนในแง่ของรสนิยมทางเพศ และยังสนับสนุนในเรื่องความเกลียดชัง (และการก่อกวนให้นำไปสู่อันตราย) โดยขึ้นกับรสนิยมทางเพศ[565]
วานูอาตู ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์

ไมโครนีเซีย

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
กวม
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2521
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ตั้งแต่ 2558 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542 ความรับผิดชอบของสหรัฐ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์
กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
ห้ามการเลือกปฏิบัติบบางอย่างเกี่ยวกับการแสดงออกด้านอัตลักษณ์ทางเพศ
กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
ประเทศไมโครนีเซีย ชอบด้วยกฎหมาย
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ไม่มีทหาร
คิริบาส ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 5 ถึง 14 ปี
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]
ไม่มีทหาร ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์
หมู่เกาะมาร์แชลล์ ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2548
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ไม่มีทหาร
นาอูรู ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2559[566][567]
+ ลงนามสหประชาชาติ
ไม่มีทหาร
หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2526
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ตั้งแต่ 2558 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558 ความรับผิดชอบของสหรัฐ กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
ปาเลา ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2557
+ ลงนามสหประชาชาติ[568]
รัฐธรรมนูญห้ามตั้งแต่ 2551ไม่มีทหาร
เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐ
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ชอบด้วยกฎหมาย ชอบด้วยกฎหมาย ชอบด้วยกฎหมาย สหรัฐรับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน

พอลินีเชีย

สิทธิในกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันการรับรองการอยู่กินของเพศเดียวกันการสมรสเพศเดียวกันการรับบุตรบุญธรรมของคู่เพศเดียวกันแอลจีบีทีได้รับอนุญาตให้รับราชการทหารอย่างเปิดเผยกฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศกฎหมายเกี่ยวกับอัตลักษณ์/การแสดงออกทางเพศ
อเมริกันซามัว
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)[569]
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2523
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
[570] ความรับผิดชอบของสหรัฐ กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย กฎหมายอาชญากรรมความเกลียดชังของสหรัฐมีผลในพื้นที่ดินแดนของสหรัฐด้วย
เกาะอีสเตอร์
(ดินแดนพิเศษของชิลี)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2542
(อายุที่ไม่ยินยอม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
คู่ชีวิตตั้งแต่ 2558 ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม (เสนอ) ชิลีเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ตั้งแต่ 2550
หมู่เกาะคุก
(เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรนิวซีแลนด์)
ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 5 ถึง 14 ปี (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ความรับผิดชอบของนิวซีแลนด์ ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[571]
เฟรนช์พอลินีเชีย
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในอาณานิคม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ตั้งแต่ 2556 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ความรับผิดชอบของฝรั่งเศส ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน
นีวเว
(ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรนิวซีแลนด์)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ความรับผิดชอบของนิวซีแลนด์
หมู่เกาะพิตแคร์น
(ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2544
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ตั้งแต่ 2558 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[572] ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2558[573] สหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน รัฐธรรมนูญห้ามการเลือกปฏิบัติ[574]
ซามัว ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุก 5 ถึง 7 ปี (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ไม่มีทหาร ต่อต้านบางการเลือกปฏิบัติต่อเกย์[575] ซามัวมีกลุ่มคนข้ามเพศขนาดใหญ่หรือชุมชน "เพศที่สาม" เรียกว่า ฟาอาฟาฟิเน นี่เป็นส่วนหนึ่งของการยอมรับศุลกากรดั้งเดิมของชาวซามัว และมักหมายถึงทรานส์วูแมน
โทเคอเลา
(ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรนิวซีแลนด์)
ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2550
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ความรับผิดชอบของนิวซีแลนด์
ตองงา ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุดถึง 10 ปีและโดนเฆี่ยน (ไม่บังคับใช้)
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง[1]
ตูวาลู ไม่ชอบด้วยกฎหมายในเพศชาย
โทษ: จำคุกสูงสุด 14 ปี
ชอบด้วยกฎหมายในเพศหญิง
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ไม่มีทหาร
เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐ
(ดินแดนมีการจัดระเบียบซึ่งไม่ได้ปกครองโดยระบบเทศบาลของสหรัฐ)
ชอบด้วยกฎหมาย ชอบด้วยกฎหมาย ชอบด้วยกฎหมาย สหรัฐเป็นผู้รับผิดชอบด้านการป้องกันดินแดน
วาลิสและฟูตูนา
(อาณานิคมโพ้นทะเลของฝรั่งเศส)
ชอบด้วยกฎหมาย
(ไม่เคยมีกฎหมายกีดกันกิจกรรมทางเพศของคนเพศเดียวกันมาก่อนในอาณานิคม)
+ ลงนามสหประชาชาติ[1]
ข้อสัญญาการร่วมกันเป็นหนึ่งตั้งแต่ 2552 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ชอบด้วยกฎหมายตั้งแต่ 2556 ความรับผิดชอบของฝรั่งเศส ต่อต้านทุกการเลือกปฏิบัติต่อเกย์ ตั้งแต่ 2560 การเปลี่ยนเพศไม่จำเป็นต้องทำหมัน

ใกล้เคียง

สิทธิ สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน สิทธิ เศวตศิลา สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย สิทธิเก็บกิน สิทธิในสุขภาพ สิทธิในอาหาร สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย สิทธิชัย ผาบชมภู สิทธิพร นิยม

แหล่งที่มา

WikiPedia: สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน http://www.ascension-island.gov.ac/wp-content/uplo... http://www.andorradifusio.ad/noticies/dema-entren-... http://www.consellgeneral.ad/fitxers/documents/lle... http://www.diariandorra.ad/index.php?option=com_k2... http://www.thenational.ae/uae/new-uae-law-does-not... http://news.am/eng/news/301746.html http://nkr.am/en/constitution/9/ http://www.nodal.am/2017/05/salvador-la-corte-supr... http://www.confluenciafm.com.ar/vernota.asp?id_not... http://www.buenosaires.gob.ar/registro-civil/norma...