ทฤษฎีเบญจธาตุ ของ สีในวัฒนธรรมจีน

ในศิลปะและวัฒนธรรมของจีนโบราณมีการใช้สีพื้นฐาน 5 สี คือ สีน้ำเงิน หรือที่เรียกว่า ชิง (qing; 青; ซึ่งเป็นการผสมสีเขียวและสีน้ำเงินเข้าด้วยกัน หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "grue" ซึ่งมาจากคำว่า "blue" และคำว่า "green") สีแดง สีเหลือง สีขาว และสีดำ ซึ่งมีความนัยถึงธาตุทั้ง 5 ธาตุ คือ น้ำ ไฟ ไม้ โลหะ และดิน ตามลำดับ โดยตลอดสมัยราชวงศ์ซาง (อังกฤษ: Shang dynasty; จีน: 商朝; พินอิน: Shāng cháo) ราชวงศ์ถัง (อังกฤษ: Tang dynasty; จีน: 唐朝; พินอิน: Táng Cháo) ราชวงศ์โจว (อังกฤษ: Zhou dynasty; จีน: 周朝; พินอิน: Zhōu Cháo) และราชวงศ์ฉิน (อังกฤษ: Qin dynasty; จีน: 秦朝; พินอิน: Qín Cháo) สมเด็จพระจักรพรรดิได้ทรงใช้ทฤษฎีเบญจธาตุ หรือธาตุทั้ง 5 (อังกฤษ: Theory of the Five Elements หรือ Wu Xing; จีน: 五行; พินอิน: wŭ xíng) ในการเลือกใช้สีทั้งสิ้น

ธาตุไม้ไฟดินโลหะ (ทอง)น้ำ
สีสีเขียวสีแดงสีเหลืองสีขาวสีดำ
ทิศทิศตะวันออกทิศใต้จุดศูนย์กลางทิศตะวันตกทิศเหนือ
ดาวเคราะห์ดาวพฤหัสบดีดาวอังคารดาวเสาร์ดาวศุกร์ดาวพุธ
Heavenly creatureมังกรสีน้ำเงิน

(Azure Dragon)
青龍

หงส์ไฟ

(Vermilion Bird)
朱雀

มังกรสีเหลือง

(Huang Long (Four Symbols), Yellow Dragon)
黃龍

เสือขาว

(White Tiger)
白虎

เต่าสีนิล

(Black Tortoise)
玄武

Heavenly Stems, , , , ,
ระยะ

(Phase)

New YangFull YangYin/Yang balanceNew YinFull Yin
พลังงานGenerativeExpansiveStabilizingContractingConserving
ฤดูกาลฤดูใบไม้ผลิฤดูร้อนช่วงการเปลี่ยนฤดู
(ทุก ๆ 3 เดือน)
ฤดูใบไม้ร่วงฤดูหนาว
ภูมิอากาศลมร้อนชุ่มชื้น (Damp)แห้งหนาว
ชีววิทยาการเจริญแตกกอหรือต้นใหม่ (Sprouting)ดอกไม้บาน (Blooming)ผลไม้สุก (Ripening)เหี่ยวแห้งหรือร่วงโรย (Withering)หยุดหรือพัก (Dormant)
ปศุสัตว์ (Livestock)หมาแกะ/แพะวัวไก่หมู
ผลไม้พลัมแอปริคอตพุทราจีนท้อเกาลัด
เมล็ดพันธุ์พืช (Grain)ข้าวสาลีถั่วข้าวปอ (hemp)ข้าวฟ่าง (millet)

ใกล้เคียง