ความไม่ลงรอยกันทางประชาน ของ สุนัขจิ้งจอกกับองุ่นเปรี้ยว

แทนที่จะยอมรับความล้มเหลวว่ากระโดดเอาพวงองุ่นไม่ได้ สุนัขจิ้งจอกกลับให้เหตุผลว่าองุ่นไม่อร่อยผู้วิจารณ์ท่านหนึ่งจึงยกเรื่องนี้ว่า เป็นตัวอย่างของความไม่ลงรอยกันทางประชาน สุนัขจิ้งจอกพยายามดำรงแนวคิดที่เข้ากันไม่ได้สองเรื่อง คือความต้องการกับความผิดหวัง ไว้ในใจพร้อม ๆ กันในตอนท้ายของนิทาน สุนัขจิ้งจอกจึงกล่าวคำดูแคลนที่ด้อยค่าเพื่อลดความไม่ลงรอยดังกล่าวJon Elster เรียกพฤติกรรมทางความคิดนี้ว่า "การก่อความชอบแบบปรับตัวได้" (adaptive preference formation)[13]

แหล่งที่มา

WikiPedia: สุนัขจิ้งจอกกับองุ่นเปรี้ยว http://mythfolklore.net/aesopica/perry/15.htm http://mythfolklore.net/aesopica/phaedrus/43.htm http://www.cfaitc.org/LessonPlans/pdf/603.pdf //www.worldcat.org/oclc/885338149 https://books.google.com/books?id=BgYGAAAAQAAJ&q=T... https://books.google.com/books?id=HJ_BJtntMioC&pg=... https://books.google.com/books?id=UPqM6WGIkJoC&pg=... https://www.youtube.com/watch?v=-D8-mNHA-yI https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:The_Fo... https://translate.academic.ru/%D0%97%D0%B5%D0%BB%D...