การเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ต ของ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย

ประเทศไทยอยู่ในรายชื่อประเทศที่อยู่ภายใต้การเฝ้าระวังของนักข่าวไร้พรมแดนในปี พ.ศ. 2554[32] รวมถึงสถานะเสรีภาพทางอินเทอร์เน็ตของประเทศไทยได้รับการจัดอันดับเป็น "ไม่เสรี" ใน รายงานเสรีภาพบนอินเทอร์เน็ต (Freedom on the Net Report) ของ Freedom House ซึ่งอ้างถึงการเซ็นเซอร์ทางการเมืองและการจับกุมบล็อกเกอร์และผู้ใช้ออนไลน์อื่นๆ[33]

แม้บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญจะให้เสรีภาพในการคิด การพูด และสื่อ "ภายใต้เงื่อนไขหลายประการ" แต่รัฐบาลก็จำกัดสิทธิเหล่านี้อย่างจริงจัง กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพทำให้การแสดงออกซึ่งดูหมิ่นพระมหากษัตริย์ไทยเป็นความผิด มีโทษจำคุกสูงสุด 15 ปี[34]

มีการประมาณการว่ามีมากกว่า 110,000 แห่งถูกบล็อกและเพิ่มขึ้นใรปี 2553[35] และคาดการณ์ว่ารัฐบาลนำเงินมาเพื่อใช้เฝ้าระวังทางดิจิทัลกว่า 1.7 ล้านบาทต่อวัน[36]

ใกล้เคียง

อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย อินเทล อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล อินเตอร์เซกชัน อินเทอร์เน็ตบอต อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์

แหล่งที่มา

WikiPedia: อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย https://web.archive.org/web/20070711070749/http://... http://www.manager.co.th/Telecom/ViewNews.aspx?New... https://data.worldbank.org/indicator/IT.NET.USER.Z... https://www.ookla.com/articles/global-index-intern... http://ipcommunications.tmcnet.com/news/2006/mar/1... https://web.archive.org/web/20071218190901/http://... https://web.archive.org/web/20070613003750/https:/... https://www.cia.gov/library/publications/the-world... http://internet.nectec.or.th/webstats/bandwidth.ii... http://internet.nectec.or.th/webstats/internetmap....