อ้างอิง ของ เขมรแดง

  1. 1 2 Kiernan, B. (2004) How Pol Pot Came to Power. New Haven: Yale University Press, p. xix.
  2. 1 2 Kiernan (2004), xx.
  3. 1 2
  4. ชื่อ Khmer Rouge มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส มีความหมายว่า ชาวเขมรสีแดง (Red Khmer) ได้รับการบัญญัติโดย พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ แต่ขบวนการคอมมิวนิสต์ของกัมพูชาไม่เคยเรียกตนเองด้วยชื่อนี้ ดู David P. Chandler. Brother Number One: A Political Biography of Pol Pot, revised edition. (Chiang Mai: Silkworm Books, 2000.) P. 214.
  5. ธีระ นุชเปี่ยม. รัฐกับสังคมกัมพูชา (กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.) หน้า 11
  6. ธีระ นุชเปี่ยม. เพิ่งอ้าง. หน้า 12
  7. Pol Pot Dead.” BBC News (April 16, 1998.) เรียกข้อมูล 5 กันยายน พ.ศ. 2550
  8. “ตาม็อก” อดีตผู้นำเขมรแดงสิ้นชีพ.” The Krungthep turakij web site (21 กรกฎาคม 2549.) เรียกข้อมูล 5 กันยายน พ.ศ. 2550
  9. ศาลกัมพูชาตั้งข้อหาอดีตหัวหน้าคุกเขมรแดงก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ.” Manager Online (1 สิงหาคม 2550.) เรียกข้อมูล 5 กันยายน พ.ศ. 2550
  10. The Khmer Rouge trials: Better Late Than Never.” Economist.com (August 2, 2007.) เรียกข้อมูล 5 กันยายน พ.ศ. 2550
  11. "จับ "นวน เจีย" เบอร์ 2 เขมรแดงขึ้นศาล." หนังสือพิมพ์มติชน (20 กันยายน 2550, ปีที่ 30, ฉบับที่ 10785.) หน้า 21.
  12. ชุมพล เลิศรัฐการ. กัมพูชาในการเมืองโลก : บทบาทของเจ้าสีหนุกับสงครามและสันติภาพ (กรุงเทพฯ : สัญญาพับลิเคชั่น, 2536.) หน้า 168, 170 – 173.
  13. David P. Chandler. Brother Number One: A Political Biography of Pol Pot. Pp. 25, 32.
  14. The beginning of the Khmer Rouge Army...: The Rising of the Khmer Students' Association.” Khmer_Rouge.
  15. ปิแอร์ โบรเชิซ สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศสในขณะนั้น ได้กล่าวถึง “วงมาร์กซิสต์” ว่าเป็น กิจกรรมคอมมิวนิสต์ “วงนอก” เนื่องจากกลุ่มดังกล่าว เป็นกลุ่มกิจกรรมที่ได้รับความเห็นชอบและตรวจสอบจากพรรค (ซึ่งก็ถือว่าเป็นกลุ่มกิจกรรมกลุ่มหนึ่งของพรรคเอง) แต่สามารถให้บุคคลภายนอกที่ไม่ใช่สมาชิกพรรคเข้าร่วมได้ ดู David P. Chandler. Brother Number One: A Political Biography of Pol Pot. P. 33.
  16. David P. Chandler. Ibid. Pp. 28, 34.
  17. David P. Chandler. Ibid. P. 35.
  18. เจ้าสีหนุเรียกการรัฐประหารครั้งนั้นว่า “สงครามศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์เพื่อเอกราช” (The Royal Crusade for Independence) โดยพระองค์ได้ให้เหตุผลว่า ทำไปเพื่อดำเนินการเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศสให้ได้ภายใน พ.ศ. 2498 ดู ธีระ นุชเปี่ยม. “การเมืองในกัมพูชา, ” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมืองการปกครองหลังสิ้นสุดสงครามเย็น. หน้า 380
  19. เดวิด แชนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. หน้า 289 – 290
  20. David P. Chandler. Brother Number One: A Political Biography of Pol Pot. Pp. 37 – 38.
  21. David P. Chandler. The Tragedy of Cambodian History: Politics, War, and Revolution since 1945 (Chiang Mai: Silkworm Books, 1999.) P. 66.
  22. ชุมพล เลิศรัฐการ. กัมพูชาในการเมืองโลก : บทบาทของเจ้าสีหนุกับสงครามและสันติภาพ. หน้า 171.
  23. หนังสือพิมพ์แนวสังคมนิยมที่ตีพิมพ์ในกัมพูชาขณะนั้น มีอยู่ด้วยกันหลายตรายี่ห้อ เช่น ประชาชน มิตรภาพ หรือเอกภาพ เป็นต้น ดู ธีระ นุชเปี่ยม. “การเมืองในกัมพูชา, ” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมืองการปกครองหลังสิ้นสุดสงครามเย็น. หน้า 386.
  24. ธีระ นุชเปี่ยม. เพิ่งอ้าง. หน้า 386 – 387.
  25. ธีระ นุชเปี่ยม. เพิ่งอ้าง. หน้า 386.
  26. ชุมพล เลิศรัฐการ. กัมพูชาในการเมืองโลก : บทบาทของเจ้าสีหนุกับสงครามและสันติภาพ. หน้า 172.
  27. ธีระ นุชเปี่ยม. “การเมืองในกัมพูชา, ” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมืองการปกครองหลังสิ้นสุดสงครามเย็น. หน้า 385 – 386.
  28. Margaret Slocomb. The People’s Republic of Kampuchea 1979 – 1989: The Revolution After Pol Pot (Chiang Mai: Silkworm Books, 2003.) Pp. 8 – 9.
  29. Margaret Slocomb. Ibid. Pp. 9 – 10.
  30. บริเวณดังกล่าวนี้ ถือเป็นพื้นที่หลักของฐานที่มั่นลับฝ่ายเวียดนาม ดู Margaret Slocomb. Ibid. P. 10.
  31. เดวิด แชนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. หน้า 311.
  32. เดวิด แชนด์เลอร์. เพิ่งอ้าง. หน้า 318.
  33. 1 2 Margaret Slocomb. The People's Republic of Kampuchea 1979 – 1989: The Revolution After Pol Pot. P. 11.
  34. ชุมพล เลิศรัฐการ. กัมพูชาในการเมืองโลก : บทบาทของเจ้าสีหนุกับสงครามและสันติภาพ. หน้า 167.
  35. เดวิด แชนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. หน้า 319.
  36. ช่วงปลาย พ.ศ. 2515 รัฐบาลของสาธารณรัฐกัมพูชาสามารถควบคุมกรุงพนมเปญ บางส่วนของจังหวัดพระตะบอง และจังหวัดขนาดใหญ่อีกจำนวนหนึ่งเท่านั้น ส่วนพื้นที่ที่เหลือของประเทศ "ถ้าไม่อยู่ในมือของฝ่ายคอมมิวนิสต์ ก็เป็นที่ๆ ไม่ปลอดภัยในทางการปกครอง" ดู เดวิด แชนเลอร์. เพิ่งอ้าง. หน้า 326.
  37. ธีระ นุชเปี่ยม. "การเมืองในกัมพูชา, " เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมืองการปกครองหลังสิ้นยุคสงครามเย็น. หน้า 394.
  38. เดวิด แชนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. หน้า 327.
  39. ขณะนั้น กรุงพนมเปญเต็มไปด้วยชาวชนบทผู้ลี้ภัยจากการทิ้งระเบิดจากเครื่องบินรบบี-52 ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งปฏิบัติการในเขตชนบทเป็นเวลา 200 วัน ใน พ.ศ. 2516 ดู Margaret Slocomb. The People's Republic of Kampuchea 1979 – 1989: The Revolution After Pol Pot. Pp. 17 – 18.
  40. เดวิด แชนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. หน้า 327 – 328.
  41. เบญจาภา ไกรฤกษ์, ม.ร.ว. เนาขแมร์, ประยงค์ คงเมือง บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : มติชน, 2547.) หน้า 193.
  42. 1 2 ธีระ นุชเปี่ยม. การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองกัมพูชา (กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2542.) หน้า 93.
  43. ธีระ นุชเปี่ยม. เพิ่งอ้าง. หน้า 96.
  44. ชุมพล เลิศรัฐการ. กัมพูชาในการเมืองโลก : บทบาทของเจ้าสีหนุกับสงครามและสันติภาพ. หน้า 178.
  45. ธีระ นุชเปี่ยม. “การเมืองในกัมพูชา, ” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมืองการปกครองหลังสิ้นสุดสงครามเย็น. หน้า 397 – 398.
  46. Jonathan Glover. Humanity: A Moral History of the Twentieth Century (Yale Nota Bene, 2001.) P. 301.
  47. ธีระ นุชเปี่ยม. การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองกัมพูชา. หน้า 93 – 94.
  48. East and Southeast Asia: A Multidisciplinary Survey. Colin Mackerras, eds. (Colorado: Lynne Rienner Publishers, 1995.) P. 589.
  49. เขียว สัมพัน. ประวัติศาสตร์กัมพูชากับจุดยืนที่ผ่านมาของข้าพเจ้า. อภิญญา ตะวันออก, แปล. กทม. มติชน.2549
  50. 1 2 รุ่งมณี เมฆโสภณ. ถกแขมร์ แลเขมร. กทม. บ้านพระอาทิตย์. 2552
  51. รุ่งมณี เมฆโสภณ. ถกแขมร์ แลเขมร. กทม. บ้านพระอาทิตย์. 2552
  52. วัชรินทร์ ยงศิริ.ตามรอยจีนเข้าพนมเปญ ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 199-203
  53. David Lea & Colette Milward (Ed.). A Political Chronology of South-East Asia and Oceania. London: Psychology Press. 2001. p. 33
  54. เขียว สัมพัน. ประวัติศาสตร์กัมพูชากับบทเรียนที่ผ่านมาของข้พเจ้า. อภิญญา ตะวันออก แปล. กทม. มติชน. 2549
  55. พวงทอง ภวัครพันธุ์. 2552. สงคราม การค้าและชาตินิยมในความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชา. กทม. มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์. หน้า 41 – 84
  56. วัชรินทร์ ยงศิริ.ทางเลือกของเขมรแดง ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 156-162
  57. วัชรินทร์ ยงศิริ. ความปรองดองแห่งชาติกัมพูชา ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 135-142
  58. 1 2 วัชรินทร์ ยงศิริ. ความแตกแยกของเขมรแดง.. ใครได้ใครเสีย ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 73-81
  59. Philip Short. Pol Pot: Anatomy of a Nightmare. Macmillan. New York: Henry Holt and Company, LLC. 2004. p. 434
  60. 1 2 วัชรินทร์ ยงศิริ.วัฏจักรสงครามในกัมพูชา ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 82 – 88
  61. วัชรินทร์ ยงศิริ.วิพากษ์ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 263-265
  62. Peter H. Maguire. Facing Death in Cambodia. New York: Columbia University Press. 2005. pp. 103-104.
  63. ไมเคิล ลีเฟอร์. พจนานุกรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กทม. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2548.
  64. วัชรินทร์ ยงศิริ. สงครามกัมพูชา จุดสุดท้ายที่โอร์เสม็ด ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 30-37
  65. สี่ปีนรกในเขมร
  66. ร่มไทรวิปโยค
  67. บัญญัติ สาลี. วรรณกรรมเขมรปัจจุบัน. มหาสารคาม. อภิชาตการพิมพ์. 2551
  68. กระดูกทองคำ
  69. Vann Nath Film Biography - Film - Time Out London ถูกบันทึกไว้ 13 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ WebCite
  70. https://www.netflix.com/title/80067522

แหล่งที่มา

WikiPedia: เขมรแดง http://www.bangkokbiznews.com/2006/07/21/g006_1223... http://www.bflybook.com/BookDetail.aspx?CategoryID... http://www.economist.com/world/asia/displaystory.c... http://jim.com/canon.htm http://www.matichonbook.com/index.php/matichonbook... http://www.sanskritbook.com/FntProductAction.do?me... http://www.timeout.com/film/people/345671/vann-nat... http://www.cambodia.gov.kh/krt/english/ http://www.eccc.gov.kh/ http://www.edwebproject.org/sideshow/