ความสำคัญของบริเวณที่ไม่ได้แปลรหัส ของ เอ็มอาร์เอ็นเอที่ดัดแปลงนิวคลีโอไซด์

รูปเปรียบเทียบการนำม็อดอาร์เอ็นเออย่างสำเร็จเข้าไปในเซลล์ กับการนำอาร์เอ็นเอที่ไม่สำเร็จความหมายอย่างคร่าว ๆ - (เมื่อส่งยีนได้อย่างสำเร็จ) No activation of TLR7/8 = ไม่กระตุ้นให้หน่วยรับอาร์เอ็นเอแปลกปลอมคือ TLR7 และ TLR8 ทำงาน, Endosomal escape = อาร์เอ็นเอหลุดออกจากเอนโดโซม, Low RNase activity = ไม่กระตุ้นเอนไซม์สลายอาร์เอ็นเอคือ RNase ให้ทำการ, Translation = อาร์เอ็นเอได้การแปลรหัส, Protein = เกิดโปรตีนที่ต้องการ, (เมื่อส่งยีนได้ไม่สำเร็จ) Activation of TLR7/8 = กระตุ้นให้หน่วยรับอาร์เอ็นเอแปลกปลอมคือ TLR7 และ TLR8 ทำงาน, High RNase activity = กระตุ้นเอนไซม์สลายอาร์เอ็นเอคือ RNase ให้ทำการ, No Translation = อาร์เอ็นเอไม่ได้การแปลรหัส, No Protein = ไม่เกิดโปรตีนที่ต้องการ

เอ็มอาร์เอ็นเอปกติจะเริ่มแล้วยุติด้วยส่วนที่ไม่ได้เข้ารหัสกรดอะมิโนลำดับเช่นนี้ที่ปลายข้าง 5′ และ 3′ ของสายเอ็มอาร์เอ็นเอเรียกว่า untranslated regions (UTRs) แปลว่า บริเวณที่ไม่ได้แปลรหัสโดยทั้งสองสำคัญต่อเสถียรภาพของเอ็มอาร์เอ็นเอ ของม็อดอาร์เอ็มเอ และต่อประสิทธิภาพของการแปลรหัสคือจำนวนโปรตีนที่ผลิตด้วยดังนั้น ถ้าเลือก UTRs ที่ดีเมื่อสังเคราะห์ม็อดอาร์เอ็นเอ ก็อาจผลิตโปรตีนที่ต้องการในเซลล์เป้าหมายได้มากสุด[5][10]

ใกล้เคียง

เอ็มอาร์เอ็นเอที่ดัดแปลงนิวคลีโอไซด์ เอ็มอร พานุสิทธิ์ เอ็มอาร์ทีวี-4 เอ็มอาร์เอ็นเอ เอ็มอาร์ที เอ็มอาร์ไอ เอ็มอาร์ที (แก้ความกำกวม) เอ็มอีเอ เอ็มอีโออาเรนา เอ็ม อรรถพล

แหล่งที่มา

WikiPedia: เอ็มอาร์เอ็นเอที่ดัดแปลงนิวคลีโอไซด์ http://www.nature.com/articles/s41586-020-2798-3 http://users.rcn.com/jkimball.ma.ultranet/BiologyP... http://link.springer.com/10.1007/s10557-020-07051-... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16111635 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/22617878 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/23064118 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/24013197 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/24295808 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/25301935 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26578598