กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเป็นกฎทางกายภาพสามข้อที่เป็นรากฐานของกลศาสตร์ดั้งเดิม ใช้สำหรับการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุกับแรงที่กระทำต่อวัตถุนั้น และการเคลื่อนที่เนื่องจากแรงเหล่านั้น โดยในกฎข้อแรกเป็นการนิยามความหมายของแรง กฎข้อที่สองให้วิธีการวัดแรงในเชิงปริมาณ และกฎข้อที่สามอ้างว่าไม่มีแรงโด่ดเดี่ยว ในสามร้อยปีที่ผ่านมากฎทั้งสามข้อได้รับการตีความในหลาย ๆ ด้าน[1] และสามารถสรุปได้ดังนี้ไอแซก นิวตัน ได้ทำการรวบรวมกฎการเคลื่อนที่ทั้งสามข้อไว้ในหนังสือ Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica (Mathematical Principles of Natural Philosophy) ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1687[4] โดยนิวตันใช้กฎเหล่านี้เพื่ออธิบายและตรวจสอบการเคลื่อนที่ของวัตถุและระบบทางกายภาพ[5] ยกตัวอย่างเช่นในเล่มที่สามของตำรา นิวตันแสดงให้เห็นว่ากฎการเคลื่อนที่เหล่านี้รวมกับกฎความโน้มถ่วงสากล สามารถอธิบายกฎของเคปเลอร์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ได้บางครั้ง อาจมีการพูดถึง กฎข้อที่สี่ ซึ่งระบุว่าแรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือเป็นไปตามหลักการซ้อนทับ[6][7][8]

ใกล้เคียง

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเค็พเพลอร์ กฎการพาดหัวของเบ็ทเทอร์ริดจ์ กฎการปะทะ กฎการอนุรักษ์ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ กฎการแผ่รังสีความร้อนของเคียร์ชฮ็อฟ กฎการสลับที่ กฎการดูดกลืน กฎการมีตัวอย่างน้อย

แหล่งที่มา

WikiPedia: กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน http://www.lightandmatter.com/html_books/1np/ch04/... http://www.springerlink.com/content/j42866672t8635... http://members.tripod.com/~gravitee/axioms.htm http://www.ce.berkeley.edu/~coby/plas/pdf/book.pdf http://adsabs.harvard.edu/abs/1992CeMDA..53..227P http://adsabs.harvard.edu/abs/1992PhyEd..27..112H http://adsabs.harvard.edu/abs/2003Sc&Ed..12...45G http://ocw.mit.edu/courses/physics/8-01-physics-i-... http://plato.stanford.edu/entries/newton-principia... //doi.org/10.1007%2FBF00052611