กองทัพลิทัวเนีย
กองทัพลิทัวเนีย

กองทัพลิทัวเนีย

กองทัพเรือ
กองทัพอากาศ
กองกำลังปฎิบัติการพิเศษ
กองกำลังอาสาป้องกันแห่งชาติ

ธงประจำกองทัพลิทัวเนียกองทัพลิทัวเนีย (ลิทัวเนีย: Lietuvos ginkluotosios pajėgos) เป็นกองกำลังของประเทศลิทัวเนีย. ประกอบไปด้วย กองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ และ กองกำลังปฎิบัติการพิเศษ รวมถึง กองกำลังกึ่งทหาร กองกำลังอาสาป้องกันแห่งชาติ. มีหน้าที่หลักคือดูแลความปลอดภัยของอิสรภาพ เอกราช และ บูรณภาพดินแดนของประเทศ รวมถึงภารกิจต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศ ภารกิจสนับสนุนในการรักษาความสงบเรียบร้อย พิทักษ์ผลประโยชน์และทรัพยากรของชาติในเขตเศรษฐกิจจำเพาะ โดยปฎิบัติการร่วมกับ องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ และ สหภาพยุโรป ในฐานะชาติสมาชิก.

กองทัพลิทัวเนีย

ยอดกำลังประจำการ 18,750 [1]
ประชากรที่อายุถึงขั้นรับราชการทุกปี ชาย 20,425 (2016 est.),
หญิง 19,527 (2016 est.)
การเกณฑ์ 9 เดือน
ยศ ยศทหาร
เครื่องอิสริยาภรณ์
รูปแบบปัจจุบัน 25 เมษายน ค.ศ. l 1990
แหล่งผลิตนอกประเทศ  สหรัฐ
 เดนมาร์ก
 ฟินแลนด์
 เยอรมนี
 อิตาลี
 นอร์เวย์
 โปแลนด์
 สวีเดน
 สหราชอาณาจักร
 อิสราเอล
 ฝรั่งเศส
อายุเริ่มบรรจุ 18–55
ประชากรในวัยบรรจุ ชาย 890,074  อายุ 16–49 (2016 est.),
หญิง 875,780  อายุ 16–49 (2016 est.)
งบประมาณ €873 million($1.0 billion) (2018)[2]
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม Raimundas Karoblis
ประชากรฉกรรจ์ ชาย 669,111 , อายุ 16–49 (2016 est.),
หญิง 724,803 , อายุ 16–49 (2016 est.)
เหล่า กองทัพบก

กองทัพเรือ
กองทัพอากาศ
กองกำลังปฎิบัติการพิเศษ
กองกำลังอาสาป้องกันแห่งชาติ

ที่ตั้ง บก. วิลนีอุส
ก่อตั้ง 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
เสนาธิการทหาร พลโท Jonas Vytautas Žukas
ประวัติ 1918–19 สงครามโซเวียต-ลิทัวเนีย
1944–45 สงครามโลกครั้งที่ 2
1944–53 ขบวนการพลพรรคลิทัวเนีย
1994 สงครามบอสเนีย
2001–ปัจจุบัน สงครามในอัฟกานิสถาน
2003–ปัจจุบัน การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
2004–ปัจจุบัน กองกำลังคอซอวอ
2013–ปัจจุบัน EUTM Mali
2013–ปัจจุบัน ปฎิบัติการอตาลันตา
2014 ปฎิบัติการซันการิส
2015–ปัจจุบัน EU Navfor Med
2017–ปัจจุบันมินุสมา
ร้อยละต่อจีดีพี 2.06% (2018)
ผบ. สูงสุด ประธานาธิบดี Dalia Grybauskaitė