การทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค

หลักการทางคณิตศาสตร์Measurement · หลักความไม่แน่นอน
หลักการกีดกัน · ทวิภาพ
Decoherence · Ehrenfest theorem · Tunnelingการทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค ตั้งชื่อตาม ออตโต สเติร์น และ วอลเทอร์ เกอร์แลค เป็นการทดลองในปี ค.ศ. 1922 ที่มีความสำคัญยิ่งในสาขากลศาสตร์ควอนตัม[1] โดยทดสอบดูทิศทางการหักเหของอนุภาคซึ่งใช้ในการวางหลักการพื้นฐานของกลศาสตร์ควอนตัม และเป็นตัวบ่งชี้ว่าอิเล็กตรอนและอะตอมมีคุณสมบัติควอนตัมภายใน และการตรวจวัดในกลศาสตร์ควอนตัมมีผลกระทบต่อตัวระบบที่กำลังตรวจวัดนั้นเองด้วยการทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค ดำเนินการที่เมืองแฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี โดย ออตโต สเติร์น และ วอลเทอร์ เกอร์แลค เวลานั้นสเติร์นเป็นผู้ช่วยวิจัยของ มักซ์ บอร์น ที่สถาบันฟิสิกส์ทฤษฎี มหาวิทยาลัยแฟรงค์เฟิร์ต ส่วนเกอร์แลคเป็นผู้ช่วยวิจัยที่สถาบันฟิสิกส์การทดลองที่มหาวิทยาลัยเดียวกันในยุคที่ทำการทดลอง แบบจำลองดีที่สุดที่ใช้อธิบายอะตอมคือแบบจำลองของบอร์ ซึ่งบอกว่าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปรอบๆ นิวเคลียสประจุบวกภายในขอบเขตออร์บิทัลของอะตอมที่แยกเป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงาน โดยเหตุที่อิเล็กตรอนถูกควอนไตซ์ให้มีตำแหน่งที่แน่นอนในอวกาศ การแบ่งแยกเป็นระดับชั้นพลังงานที่แยกกันนี้จึงเรียกว่าเป็นการควอนไตซ์ในอวกาศ (space quantization) การทดลองของสเติร์น-เกอร์แลคต้องการทดสอบสมมุติฐานของบอร์-ซอมเมอร์เฟลด์ว่าทิศทางของโมเมนตัมเชิงมุมของอะตอมธาตุเงินนั้นควอนไตซ์จริงหรือไม่[2]พึงสังเกตว่า การทดลองนี้เกิดขึ้นหลายปีก่อนที่ George Eugene Uhlenbeck กับ Samuel Abraham Goudsmit จะคิดค้นสมมุติฐานเกี่ยวกับสปินของอิเล็กตรอน อย่างไรก็ดีในเวลาต่อมาก็พบว่าผลการทดลองของสเติร์น-เกอร์แลคสามารถเข้ากันได้เป็นอย่างดีกับการทำนายกลศาสตร์ควอนตัมของอนุภาคสปิน -1/2 ควรมองว่าการทดลองนี้เป็นข้อสนับสนุนต่อทฤษฎีควอนตัมดั้งเดิมของบอร์-ซอมเมอร์เฟลด์[3]ปี ค.ศ. 1927 ที.อี. ฟิปส์ และ เจ.บี.เทย์เลอร์ ทำการทดลองซ้ำอีกครั้งโดยอาศัยอะตอมไฮโดรเจนที่สถานะพื้น เพื่อขจัดข้อสงสัยใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการใช้อะตอมเงินในการทดสอบ[4]

การทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค

ภูมิหลังหลักการพื้นฐานการทดลองFormulationsสมการการตีความหัวข้อศึกษายุคใหม่นักวิทยาศาสตร์ ความรู้เบื้องต้น

หลักการทางคณิตศาสตร์

ภูมิหลัง
กลศาสตร์ดั้งเดิม
ทฤษฎีควอนตัมแบบเก่า
Interference · สัญกรณ์บรา-เค็ท
Hamiltonian
หลักการพื้นฐาน
Quantum state · ฟังก์ชันคลื่น
Superposition · เอนแทงเกิลเมนต์

Measurement · หลักความไม่แน่นอน
หลักการกีดกัน · ทวิภาพ
Decoherence · Ehrenfest theorem · Tunneling

การทดลอง
Double-slit experiment
Davisson–Germer experiment
การทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค
Bell's inequality experiment
Popper's experiment
แมวของชเรอดิงเงอร์
Elitzur-Vaidman bomb-tester
Quantum eraser
Formulations
Schrödinger picture
Heisenberg picture
ภาพแบบอันตรกิริยา
กลศาสตร์เมทริกซ์
Sum over histories
สมการ
สมการของเพาลี
สมการของไคลน์–กอร์ดอน
สมการของดิแรก
ทฤษฎีของบอร์และสมการของบัลเมอร์-ริดเบอร์ก
การตีความ
โคเปนเฮเกน · Ensemble
Hidden variable theory · Transactional
Many-worlds · Consistent histories
Relational · Quantum logic · Pondicherry
หัวข้อศึกษายุคใหม่
ทฤษฎีสนามควอนตัม
ทฤษฎีโน้มถ่วงเชิงควอนตัม
ทฤษฎีแห่งสรรพสิ่ง
นักวิทยาศาสตร์
พลังค์ · ไอน์สไตน์ · บอร์ · ซอมเมอร์เฟลด์ · โพส · เครเมอร์ส · ไฮเซนแบร์ก· บอร์น · จอร์แดน · เพาลี · ดิแรก · เดอ เบรย ·ชเรอดิงเงอร์ · ฟอน นอยมันน์ · วิกเนอร์ · ไฟน์แมน · Candlin · บอห์ม · เอฟเรตต์ · เบลล์ · เวน

ใกล้เคียง

การทด การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม การทดลองแบบอำพราง การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การทดลองทางความคิด การทดแทนคุณลักษณะ (จิตวิทยา) การทดลองของมิลแกรม การทดสอบซอฟต์แวร์ การทดลองรีคัฟเวอรี การทดลองโรเซนแฮน

แหล่งที่มา

WikiPedia: การทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค http://www.if.ufrgs.br/~betz/quantum/SGPeng.htm http://books.google.com/books?id=u-_di7glv9YC&pg=P... http://www.kip.uni-heidelberg.de/matterwaveoptics/... http://phet.colorado.edu/simulations/sims.php?sim=... http://adsabs.harvard.edu/abs/1921ZPhy....7..249S http://adsabs.harvard.edu/abs/1922ZPhy....9..353G http://adsabs.harvard.edu/abs/1927PhRv...29..309P http://adsabs.harvard.edu/abs/1997PhRvA..56.4307V http://adsabs.harvard.edu/abs/1999PhLA..259..427R http://adsabs.harvard.edu/abs/2003PhT....56l..53F