การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ
การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ

การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ

การเจริญกรรมฐาน[upper-alpha 1] (อังกฤษ: meditation) ผลต่อการทำงานของสมอง และผลต่อระบบประสาทกลางได้กลายมาเป็นประเด็นงานวิจัยข้ามสาขาในประสาทวิทยาศาสตร์ จิตวิทยา และชีววิทยาประสาท (neurobiology) ในช่วงท้ายคริสต์ศตวรรษที่ 20งานวิจัยได้พยายามที่จะกำหนดและแสดงลักษณะของการเจริญกรรมฐาน/การเจริญภาวนา/การนั่งสมาธิ แบบต่าง ๆ ผลการเจริญกรรมฐานต่อสมองมีสองแบบ คือผลต่อภาวะสมองระยะสั้นเมื่อกำลังเจริญกรรมฐาน และผลต่อลักษณะที่มีในระยะยาวประเด็นการศึกษาบ่อยครั้งจะเป็นเรื่องการเจริญสติ ซึ่งเป็นกรรมฐานของชาวพุทธทั้งในแบบวิปัสสนา และในรูปแบบของนิกายเซน[4][5] ศ. ดร. จอน คาแบต-ซินน์ ผู้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์ ผู้ก่อตั้งโปรแกรม MBSR เพื่อช่วยลดความเครียดอาศัยสติ ได้กล่าวถึงการเจริญสติว่า เป็นการใส่ใจในขณะปัจจุบัน อย่างไม่มีอคติ อย่างสมบูรณ์[6]

ใกล้เคียง

การทำให้เป็นประชาธิปไตย การทำลายเขื่อนกาคอว์กา การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ การทำฝนเทียม การทำแผนที่ การทำให้ไว การทำฝันวัยเด็กของคุณให้เป็นจริงได้อย่างแท้จริง การทำเครื่องหมายกางเขน การทำลายล้างวัตถุระเบิด การทำลายป่า

แหล่งที่มา

WikiPedia: การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ http://cs.oswego.edu/~jferris/psy290/1MeditBrainWa... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2267490 http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC226749... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16536641 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17655980 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18365029 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19941676 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/6013341 //doi.org/10.1016%2F0013-4694(81)90107-3 //doi.org/10.1016%2Fj.neubiorev.2014.03.016