ความเคยชินเทียบกับการปรับตัว ของ การปรับตัวของประสาท

คำภาษาอังกฤษว่า adaptation (การปรับตัว) และ habituation (ความเคยชินโดยเรียนรู้) บ่อยครั้งมักจะสับสนกันความเคยชินเป็นปรากฏการณ์ทางพฤติกรรม เทียบกับการปรับตัวทางประสาทที่เป็นปรากฏการณ์ทางสรีรภาพ แม้ทั้งสองจะไม่ได้แยกจากกันโดยสิ้นเชิง

ในความเคยชินโดยเรียนรู้ บุคคลยังสามารถควบคุมได้ว่าจะสังเกตรับรู้อะไรที่กำลังค่อย ๆ ชินหรือไม่แต่ถ้าเป็นการปรับตัวทางประสาท ก็จะไม่สามารถควบคุมอะไรได้ยกตัวอย่างเช่น ถ้าประสาทได้ปรับตัวไม่รับรู้อะไร (เช่นกลิ่นน้ำหอม) แล้ว ก็จะไม่สามารถบังคับให้ได้กลิ่นสิ่งนั้นได้

การปรับตัวทางประสาทจะสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับระดับของสิ่งเร้าเช่น เมื่อแสงสว่างเพิ่มขึ้น การปรับตัวจะมีกำลังขึ้น[17]โดยเทียบกันแล้ว ความเคยชินโดยเรียนรู้จะต่าง ๆ กันขึ้นอยู่กับสิ่งเร้าถ้าสิ่งเร้าไม่มีกำลัง ความเคยชินก็อาจเกิดทันที แต่ถ้าสิ่งเร้ามีกำลัง สัตว์อาจจะกลับไม่รู้สึกชินกับมันเลย[18]ยกตัวอย่างเช่น ลมเย็น ๆ เทียบกับสัญญาณเตือนไฟใหม้กระบวนการความเคยชินโดยการเรียนรู้ยังมีเกณฑ์กำหนดต่าง ๆ[19]

ใกล้เคียง

การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564 การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง การประกวดความงาม การปรับตัว (ชีววิทยา) การประเมินตัวเองหลัก (จิตวิทยา) การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ การปรับอากาศรถยนต์ การประมาณราคา การประกันภัย การปรับตัวของประสาท

แหล่งที่มา

WikiPedia: การปรับตัวของประสาท http://education-portal.com/academy/lesson/sensory... http://neuralcorrelate.com/martinez-conde_et_al_nr... http://www.cns.nyu.edu/~david/courses/perceptionGr... http://www.cns.nyu.edu/~nava/courses/psych_and_bra... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1180786 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2290590 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3501690 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4783497 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10845109 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11988174