ความถี่ค้นหาและกู้ภัย ของ ความถี่แจ้งเหตุประสบภัยสากล

  • 123.1 MHz — ความถี่สนับสนุนการบิน (ใช้งานด้วยเสียงระหว่างประเทศสำหรับประสานงานปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัย)
  • 138.78 MHz — การใช้งานด้วยเสียงของกองทัพสหรัฐในภารกิจค้นหาและกู้ภัย นอกจากนี้ความถี่นี้ยังใช้สำหรับการค้นหาทิศทาง (direction finding: DF) อีกด้วย
  • 155.160 MHz
  • 172.5 MHz — การสื่อสารจากทุ่นโซโนบุยฉุกเฉินของกองทัพเรือสหรัฐและการใช้งานนำทางกลับบ้าน ความถี่นี้ได้รับการเฝ้าติดตามโดยอากาศยานต่อต้านเรือดำน้ำ (ASW) ทั้งหมดของกองทัพเรือสหรัฐที่ได้รับภารกิจการค้นหาและกู้ภัย
  • 282.8 MHz — ใช้งานร่วม/รวมด้วยเสียง ในพื้นที่ค้นหาและความถี่ย่าน DF ที่ใช้งานทั่วทั้งเนโท
  • 406 MHz / 406.1 MHz — ใช้งานในระบบ Cospas-Sarsat สำหรับการค้นหาและกู้ภัย (SAR) ผ่านดาวเทียมระหว่างประเทศ สำหรับตรวจจับการแจ้งเตือนเหตุประสบภัยและตรวจจับการแพร่กระจายข้อมูล
  • เครื่องวิทยุคมนาคมบอกตำแหน่งผ่านดาวเทียมในกรณีฉุกเฉิน (Emergency position-indicating radiobeacon: EPIRB)
  • เครื่องทวนสัญญาณเพื่อการค้นหาและช่วยเหลือ (Search and Rescue Transponder: SART)
  • วิทยุยามฉุกเฉิน (Survival radio)

ใกล้เคียง

ความถูกต้องทางการเมือง ความถี่แจ้งเหตุประสบภัยสากล ความถี่ ความถ่วงจำเพาะ ความถี่เชิงมุม ความถี่วิทยุ ความถี่เชิงพื้นที่ ความถี่มูลฐาน ความถี่เสียงเปียโน ความถนัดซ้าย

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความถี่แจ้งเหตุประสบภัยสากล http://www.piersystem.com/go/doc/586/251135/ http://www.piersystem.com/go/doc/780/248571/ http://www.uscg.mil/d13/cfvs/Distress.asp http://www.navcen.uscg.gov/?pageName=cgcommsCall https://www.itu.int/rec/R-REC-M.541/en http://www.arrl.org/band-plan https://web.archive.org/web/20180920154308/http://... http://www.iaru.org/uploads/1/3/0/7/13073366/emcom... https://web.archive.org/web/20181114063432/http://... http://www.iaru.org/uploads/1/3/0/7/13073366/emerg...