คีโทน
คีโทน

คีโทน

อลิฟาติก
อโรมาติก
เฮเทอรโรไซคลิก
แอลกอฮอล์
แอลดีไฮด์
สารประกอบอะลิไซคลิก
อะไมด์
อะมีน
คาร์โบไฮเดรต
กรดคาร์บอกซิลิก
เอสเตอร์
อีเทอร์
คีโตน
ลิพิด
เมอร์แคปแทน
ไนไตรล์
คอมฟิกุรุเชัน
อิแนนทิโอเมอร์
จีออเมตริกไอโซเมอริซึม
คอนฟอร์เมชัน
ปฏิกิริยาการแทนที่
ปฏิกิริยาการกำจัด
อัลตราไวโอเลต-วิซิเบิลสเปกโทรสโกปี
อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโทรสโกปี
แมสส์สเปกโทรสโกปี
ในสารประกอบอินทรีย์ คีโทน (อังกฤษ: Ketone, alkanone) เป็นสารประกอบชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย หมู่คาร์บอนิล (C=O) เชื่อมพันธะกับอะตอมคาร์บอนอื่นอีกสองอะตอมในรูปแบบ R1 (CO) R2 อะตอมที่มาแทนที่ R1 และ R2 ไม่อาจเป็นไฮโดรเจน (H) [1] เพราะเมื่อหมู่ R หมู่ใดหมู่หนึ่งเป็นไฮโดรเจน สารประกอบนี้จะเรียกว่าอัลดีไฮด์คาร์บอนคาร์บอนิลเชื่อมพันธะกับอะตอมคาร์บอนสองอะตอมทำให้คีโทนแตกต่างจากกรดคาร์บอกซิลิก, อัลดีไฮด์, เอสเทอร์, เอไมด์, และ สารประกอบอื่น ๆ ที่ประกอบด้วยออกซิเจน พันธะคู่ของหมู่คาร์บอนิลทำให้คีโทนแตกต่างจากแอลกอฮอล์และอีเธอร์คีโทนที่พื้นฐานที่สุดคือ แอซีโทน, CH3-CO-CH3 (ชื่อตามระบบ IUPAC คือโพรพาโนน[2])อะตอมคาร์บอนที่อยู่ติดกับหมู่คาร์บอนิลเรียกว่า α {\displaystyle \alpha } -คาร์บอน ไฮโดรเจนที่เชื่อมกับอะตอมคาร์บอนนี้เรียก α {\displaystyle \alpha } -ไฮโดรเจน ในการมีอยู่ของตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดกรด ทำให้คีโทนถูกเรียกเป็นคีโต-อีนอล ทอร์โมเมอริซึม คีโทนทำปฏิกิริยาเคมีกับเบสรุนแรงให้อีโนเลตเหมือนกัน ไดคีโทนเป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยคีโทนสองหมู่