ทางรถไฟราษฎร์สายบางบัวทอง
ทางรถไฟราษฎร์สายบางบัวทอง

ทางรถไฟราษฎร์สายบางบัวทอง

ทางรถไฟราษฎร์สายบางบัวทอง[6] หรือ ทางรถไฟพระยาวรพงษ์[7] เป็นทางรถไฟราษฎร์หรือทางรถไฟเอกชนสายหนึ่ง ดำเนินกิจการโดยบริษัทรถไฟสายบางบัวทอง จำกัด ของเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)[4] ช่วงปี พ.ศ. 2458–2486เบื้องต้นทางรถไฟสายนี้จะเดินรถระหว่างอำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี กับอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี แต่ภายหลังได้มีการปรับปรุงและขยายเส้นทางการเดินรถถึงตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี[1]แต่หลังการอนิจกรรมของเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์และสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้บริษัทรถไฟสายบางบัวทอง จำกัดประสบปัญหาด้านรายได้และการซ่อมบำรุง กระทั่งวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2485 จึงหยุดการเดินรถ ก่อนยกเลิกกิจการถาวรในวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2486[2][5]

ทางรถไฟราษฎร์สายบางบัวทอง

ปิดเมื่อ 2 มกราคม พ.ศ. 2486
เจ้าของ บริษัท รถไฟสายบางบัวทอง จำกัด[4]
เปิดเมื่อ พ.ศ. 2458[2][3]
ที่ตั้ง จังหวัดธนบุรี, นนทบุรี และปทุมธานี[1]
รางกว้าง 75 เซนติเมตร[2][3]
ระยะทาง 68 กม. (42.25 ไมล์)[5]

ใกล้เคียง

ทางรถไฟสายแม่กลอง ทางรถไฟสายใต้ ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายเวียงจันทน์–บ่อเต็น ทางรถไฟสายเด่นชัย–เชียงราย–เชียงของ ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ (ประเทศเวียดนาม) ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์

แหล่งที่มา

WikiPedia: ทางรถไฟราษฎร์สายบางบัวทอง http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Foru... http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Foru... http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Foru... http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Foru... http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Foru... http://www.tri.chula.ac.th/triresearch/bangbuathon... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/A/... http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2473/A/...