ประวัติทางรถไฟสายเหนือ ของ ทางรถไฟสายเหนือ

ลำดับช่วงสถานีระยะทาง (กิโลมตร)เริ่มเดินรถ[2]
1ชุมทางบ้านภาชีลพบุรี431 เมษายน พ.ศ. 2444
2ลพบุรี–ปากน้ำโพ11731 ตุลาคม พ.ศ. 2448[3]
3ปากน้ำโพ–พิษณุโลก13924 มกราคม พ.ศ. 2450
4พิษณุโลก–ชุมทางบ้านดารา6911 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451
5ชุมทางบ้านดารา–ปางต้นผึ้ง5115 สิงหาคม พ.ศ. 2452
6ปางต้นผึ้ง–แม่พวก191 มิถุนายน พ.ศ. 2454
7แม่พวก–ปากปาน1015 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
8ปากปาน–ห้วยแม่ต้า131 พฤษภาคม พ.ศ. 2456
9ห้วยแม่ต้า–บ้านปิน1315 มิถุนายน พ.ศ. 2457
10บ้านปิน–ผาคอ171 พฤษภาคม พ.ศ. 2458
11ผาคอ–แม่จาง1915 ธันวาคม พ.ศ. 2458
12แม่จาง–นครลำปาง421 เมษายน พ.ศ. 2459
13นครลำปาง–ปางหัวพง3320 ธันวาคม พ.ศ. 2459
14ปางหัวพง–ปางยาง41 กรกฎาคม พ.ศ. 2461
15ปางยางอุโมงค์ขุนตาน–เชียงใหม่721 มกราคม พ.ศ. 2469
ค่าก่อสร้างทั้งหมด 46,817,492 บาท

รถไฟทางคู่

เนื่องจากมีขบวนรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือจำนวนมาก ทำให้รถไฟหลายขบวนต้องหลีกกัน ก่อให้เกิดความล่าช้า กรมรถไฟหลวงจึงสร้างทางรถไฟใหม่ข้าง ๆ ทางเดิม และเปิดเดินรถไฟทางคู่ได้เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485

ใกล้เคียง

ทางรถไฟสายแม่กลอง ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ ทางรถไฟสายใต้ ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายเวียงจันทน์–บ่อเต็น ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ทางรถไฟสายเด่นชัย–เชียงราย–เชียงของ ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ (ประเทศเวียดนาม) ทางรถไฟสายหนองคาย–เวียงจันทน์