เชิงอรรถ ของ พลูโทเนียม

  1. PuO2+ ไอออนนี้ไม่เสถียรจะเปลี่ยนไปเป็น Pu4+ และ PuO22+; Pu4+ จะรวมตัวกับออกซิเจนของ PuO2+ ที่เหลือ ไปเป็น PuO22+, ซึ่งจะลดทอนไปเป็น Pu3+ ดังนั้นสารละลายพลูโตเนียมที่เก็บไว้ระยะหนึ่งจึงมีส่วนผสมของ Pu3+ และ PuO22+Crooks, William J. (2002). "Nuclear Criticality Safety Engineering Training Module 10 – Criticality Safety in Material Processing Operations, Part 1" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2006-02-15.
  2. นี้ไม่ใช่ครั้งแรกที่มีผู้เสนอชื่อธาตุว่า "พลูโทเนียม" หนึ่งทศวรรษหลังแบเรียมถูกค้นพบ ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เสนอว่าแบเรียมควรเปลี่ยนชื่อเป็น"พลูโทเนียม"เพราะธาตุไม่ได้เป็นธาตุหนัก (ตามการเสนอจากรากศัพท์ภาษากรีกของชื่อที่ตั้งขึ้น barys = หนัก) เขาให้เหตุผลว่าตั้งแต่มันถูกสร้างโดยเทคนิคใหม่ของการสกัดสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า ชื่อของมันควรเกี่ยวข้องกับไฟ ดังนั้นเขาจึงเสนอว่าควรเป็นชื่อเทพเจ้าแห่งยมโลกของชาวโรมัน เทพพลูโต
  3. ตามบทความที่มี อ้างถึงข้อมูลที่ซีบอร์กกล่าว: "จริงๆแล้วสัญลักษณ์ควรจะเป็น Pl แต่ตลกดีเมื่อซีบอร์กเสนอให้เป็น Pu ซึ่งเหมือนคำที่เด็กร้องอุทาน 'Pee-yoo! (พี-ยู) ' เมื่อได้กลิ่นบางอย่างที่แย่ๆ ซีบอร์กคิดว่าเขาจะได้รับการวิจารณ์ที่เผ็ดร้อนในการเสนอสัญลักษณ์นี้ แต่คณะกรรมการการตั้งชื่อได้ยอมรับโดยปราศจากข้อโต้แย้ง"Clark, David L. (2000). "Reflections on the Legacy of a Legend: Glenn T. Seaborg, 1912–1999" (PDF). Los Alamos Science. 26: 56–61, on 57. สืบค้นเมื่อ 2009-02-15. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  4. ห้อง 405 ของห้องปฏิบัติการจอร์จ เฮอร์เบิร์ต โจนส์ (George Herbert Jones) ซึ่งเป็นสถานที่แรกที่สามารถสกัดพลูโทเนียมได้ ได้ชื่อเป็นสิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งชาติเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1967
  5. ระหว่างโครงการแมนฮัตตัน มักเรียกพลูโทเนียมกันอย่างง่ายๆว่า "49" โดยหมายเลข 4 มาจากเลขตัวสุดท้ายของ 94 (เลขอะตอมของพลูโทเนียม) และ 9 คือเลขตัวสุดท้ายของ Pu-239 ซึ่งเป็นไอโซโทปของวัสดุฟิสไซล์เกรดอาวุธที่ใช้ทำระเบิดนิวเคลียร์Hammel, E.F. (2000). "The taming of "49"  – Big Science in little time. Recollections of Edward F. Hammel, pp. 2-9. In: Cooper N.G. Ed. (2000). Challenges in Plutonium Science" (PDF). Los Alamos Science. 26 (1): 2–9. สืบค้นเมื่อ 2009-02-15.Hecker, S.S. (2000). "Plutonium: an historical overview. In: Challenges in Plutonium Science". Los Alamos Science. 26 (1): 1–2. สืบค้นเมื่อ 2009-02-15.
  6. The American Society of Mechanical Engineers (ASME, สมาคมวิศวกรเครื่องกลแห่งอเมริกา) กำหนดให้เครื่องปฏิกรณ์-บีเป็นสิ่งสำคัญเชิงวิศวกรรมเครื่องกลทางประวัติศาสตร์แห่งชาติในเดือนกันยายน ค.ศ. 1976Wahlen, R.K. (1989). History of 100-B Area (PDF). Richland, Washington: Westinghouse Hanford Company. p. 1. WHC-EP-0273. สืบค้นเมื่อ 2009-02-15.ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2008 เครื่องปฏิกรณ์-บีได้ชื่อเป็นสิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา"Weekly List Actions". National Park Service. 2008-08-29. สืบค้นเมื่อ 2008-08-30.
  7. การคำนวณประสิทธิภาพอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงที่ว่า Pu-239 (หรือ U-235) 1 กก. ผลการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอม ปลดปล่อยพลังงานประมาณ 17 kt ถ้าพลูโทเนียมทรงกลมประมาณ 1.2 กก. การแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมจะให้ผลลัพธ์ 20 kt บนตัวเลขของ 1 กก. = 17 kt,"Proliferation of Nuclear Weapons and Materials to State and Non-State Actors: What It Means for the Future of Nuclear Power" (PDF). University of Michigan Symposium. Federation of American Scientists. 2002-10-04. สืบค้นเมื่อ 2009-01-04.
  8. พลูโทเนียมจำนวนมากนี้ถูกใช้สร้างแกนซึ่งแตกตัวได้ของอาวุธนิวเคลียร์ความร้อนที่ใช้การออกแบบเทลเลอร์-อูลาม (Teller–Ulam design) หรือที่เรียกว่า 'ระเบิดไฮโดรเจน' เป็นอาวุธนิวเคลียร์ชนิดหนึ่งที่ใช้การระเบิดแบบแตกตัวไปกระตุ้นนิวเคลียร์ฟิวชั่นของไอโซโทปไฮโดรเจนหนัก ผลการทำลายโดยทั่วไปในความแรงเทียบเท่าระเบิดทีเอ็นทีหนึ่งล้านตันเปรียบเทียบได้กับกลไกแตกตัวความแรงเทียบเท่าระเบิดทีเอ็นทีหนึ่งพันตันเท่านั้น
  9. แกโดลิเนียม เซอร์โคเนียม ออกไซด์ (Gd2Zr2O7) ถูกพิจารณาเพราะมันสามารถหน่วงพลูโทเนียมได้มากกว่า 30 ล้านปี
  10. พลูโทเนียมเสียในแท่งเชื้อเพลิงใช้แล้ว: Pu-239 (~58%), Pu-240 (24%), Pu-241 (11%), Pu-242 (5%), and Pu-238 (2%). (Emsley 2001)
  11. มีไฟไหม้ที่เกิดจากพลูโทเนียมที่รอกกี แฟลตส์ แพลนต์ (Rocky Flats Plant) ใกล้กับโบลเดอร์, รัฐโคโลราโด ในปี ค.ศ. 1969Albright, David (1999). "The Lessons of Nuclear Secrecy at Rocky Flats". ISIS Issue Brief. Institute for Science and International Security (ISIS). สืบค้นเมื่อ 2008-12-07. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)

แหล่งที่มา

WikiPedia: พลูโทเนียม http://discovermagazine.com/2005/nov/end-of-pluton... http://fr.jpost.com/servlet/Satellite?cid=12358983... http://www.philosophy.umd.edu/Faculty/LDarden/scii... http://alsos.wlu.edu/qsearch.aspx?browse=science/P... http://georgewbush-whitehouse.archives.gov/news/re... http://www.nndc.bnl.gov/chart/ http://www.nndc.bnl.gov/content/evaluation.html http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp143.html http://www.cfo.doe.gov/me70/manhattan/publications... http://consolidationeis.doe.gov/PDFs/PlutoniumANLF...