เชิงอรรถ ของ ฟาโรห์โรมัน

  1. ราชวงศ์สุดท้ายที่ระบุด้วยตัวเลขโดยนักไอยคุปต์วิทยาส่วนใหญ่ คือ ราชวงศ์ที่สามสิบเอ็ด (เมื่อชาวเปอร์เซียเข้ามาปกครองอียิปต์เป็นครั้งที่สอง)[3] หากนับชาวโรมันเป็น "ราชวงศ์ที่สามสิบสี่" ราชวงศ์อาร์กีดของอเล็กซานเดอร์มหาราชจะถือเป็นราชวงศ์ที่สามสิบสอง และราชอาณาจักรทอเลมีจะถือเป็นราชวงศ์ที่สามสิบสาม
  2. ตำแหน่งและพระนามตามฟ็อน เบ็คเคอราธระบุได้นั้น (ค.ศ.1984) มาจาก อักษรอียิปต์โบราณ หน้าที่ 296–306 และการทับศัพท์ หน้าที่ 123–127[21] พระนามของจักรพรรดิเขียนด้วยอักษรอียิปต์โบราณตามการออกเสียงตามพระนามในภาษากรีก[22] เนื่องจากการสะกดเป็นแบบสัทอักษร จักรพรรดิหลายพระองค์จึงเป็นที่รู้จักจากการแผลงพระนามและตำแหน่งต่างๆ กัน การแผลงคำที่แตกต่างกันจะรวมไว้ที่นี่เฉพาะในกรณีที่มีความหมายต่างกันเท่านั้น
  3. จักรพรรดิเอากุสตุสทรงไม่ได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งโรมัน จนกระทั่งเมื่อ 27 ปีก่อนคริสตกาล แต่ทรงได้รับการยอมรับว่าทรงเป็นฟาโรห์ในอียิปต์หลังจากสิ้นสุดรัชสมัยของทอเลมีที่ 15 ซีซาเรียน ซึ่งน่าจะทรงเป็นตั้งแต่เมื่อ 30 ปีก่อนคริสตกาลเป็นต้นไป[20]
  4. พระฉายานี้อาจจะแปลเป็น "เอาตอกราตอร์"[23]
  5. "ntj-ḫw" ที่ใช้บ่อยครั้งนั้นคือคำภาษาอียิปต์ของคำภาษากรีก เซบัสทอส (เป็นรูปแผลงภาษากรีกของคำว่า เอากุสตุส ในภาษากรีก)[25]
  6. จากช่วงเวลาดังกล่าวเป็นต้นไป ตามฟ็อน เบ็คเคอราธ (ค.ศ. 1984) ได้หยุดการใช้ตำแหน่งราชวงศ์แบบอียิปต์ดั้งเดิม พระนามที่เหลือทั้งหมดนับจากนี้เป็นเพียง พระนาม (พระนามประสูติ)[32]
  7. "การากัลลา" เป็นพระนามเล่น ส่วนพระนามเต็มของจักรพรรดิคือ มาร์กุส เอาเรลิอุส อันโตนินุส
  8. การอ่านพระนามในคาร์ทูชดังกล่าว ซึ่งอ่านตามตัวอักษรจาก "prʻbwj" ว่า "ปลอบุส" นั้นยังยังไม่ชัด[45]

ใกล้เคียง

ฟาโรห์ตุตันคาเมน ฟาโรห์อูนัส ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 2 ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 1 ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 3 ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 3 ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 4 ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 ฟาโรห์โจเซอร์ ฟาโรห์เมเนส

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฟาโรห์โรมัน https://archive.org/details/keysofegyptobses00adki https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b... https://etd.ohiolink.edu/pg_10?0::NO:10:P10_ACCESS... https://oi.uchicago.edu/sites/oi.uchicago.edu/file... https://books.google.com/books?id=0M4UDAAAQBAJ https://books.google.com/books?id=lYo-wI8aBYEC&q=%... https://doi.org/10.2307%2F4238573 https://www.jstor.org/stable/4238573 https://books.google.com/books?id=dRcnDAAAQBAJ https://books.google.com/books?id=WJp3Gmerg_cC&q=m...