รายพระนามจักรพรรดิฟาโรห์ ของ ฟาโรห์โรมัน

สำหรับรายพระนามจักรพรรดิแห่งโรมันทั้งหมด ดูที่ รายพระนามจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน

รายการพระนามดังต่อไปนี้ปรากฏเฉพาะจักรพรรดิที่ปรากฏหลักฐานยืนยันในตัวอักษรอียิปต์โบราณ (เช่น ปรากฏพระนามฟาโรห์) โดยฟ็อน เบ็คเคอราธ (ค.ศ. 1984)[20]

รูปภาพพระนามและรัชสมัยตำแหน่งราชวงศ์อียิปต์โบราณ (คาร์ทูช)[lower-alpha 2]คำอธิบายอ้างอิง
เอากุสตุส
ค. 30 ปีก่อนคริสตกาล[lower-alpha 3]– ค.ศ. 14
พระนามฮอรัส:

ṯmꜢ-Ꜥ wr-pḥtj ḥwnw-bnr-mrwt ḥqꜢ-ḥqꜢw stp-n-Ptḥ-Nnw-jt-nṯrw

ṯmꜢ-Ꜥ wr-pḥtj ḥwnw-bnr-mrwt
พระนามครองราชย์:

ḥqꜢ-ḥqꜢw stp-n-Ptḥ

ḥqꜢ-ḥqꜢw stp-n-Ptḥ mrj-Ꜣst

Autokrator
พระนามประสูติ:

Kaisaros, Ep. nt.f mḥ[lower-alpha 4]

Kaisaros, Ep. pꜢ nṯr

Kaisaros, Ep. Ꜥnḫ-ḏt mrj-Ptḥ-Ꜣst

Romaios
จักรพรรดิโรมันพระองค์แรกและผู้ปกครองโรมันพระองค์แรกที่ทรงควบคุมอียิปต์ ทรงจัดตั้งระบบภาษีใหม่ที่ไม่เป็นที่ชอบในอียิปต์และห้ามประเพณีบูชาจากอียิปต์ในกรุงโรม[24]
ติแบริอุส
ค. ค.ศ. 14 – ค.ศ. 37
พระนามฮอรัส:

ṯmꜢ-Ꜥ wr-pḥtj ḥwnw-bnr-mrwt ḥqꜢ-ḥqꜢw stp-n-Ptḥ-Nnw-jt-nṯrw

ṯmꜢ-Ꜥ wr-pḥtj ḥwnw-bnr-mrwt kꜢ-nsw sḫm-ḫntj-pr-dwꜢt

ṯmꜢ-Ꜥ ẖwj-ḫꜢswt wr-pḫtj nḫhw-BꜢqt

ṯmꜢ-Ꜥ ẖnmw-n-tꜢw smꜢw-wꜢs-?-gmj-wš-m-Jtrtj
พระนามประสูติ:

Tiberios

Tiberios ntj-ḫw[lower-alpha 5]

Tiberios Kaisaros, Ep. Ꜥnḫ-ḏt
ทรงทิ้งร่องรอยของพระองค์ไว้เล็กน้อยในอียิปต์[24]
กาลิกุลา
ค. ค.ศ. 37 – ค.ศ. 41
พระนามฮอรัส:

kꜢ-nḫt jꜢḫ-stwt-RꜤ-JꜤḥ
พระนามครองราชย์:

Autokrator, Ep. ḥqꜢ-ḥqꜢw mrj-Ptḥ-Ꜣst
พระนามประสูติ:

Kaisaros Germanikos, Ep. Ꜥnḫ-ḏt
ทรงทิ้งร่องรอยของพระองค์ไว้เล็กน้อยในอียิปต์ โดยทรงยกเลิกการห้ามลัทธิบูชาอียิปต์ในกรุงโรมที่ตราขึ้นโดยจักรพรรดิเอากุสตุส[26]
เกลาดิอุส
ค. ค.ศ. 41 – ค.ศ. 54
พระนามฮอรัส:

kꜢ-nḫt ḏd-jꜢḫ-Šw-(m)-Ꜣḫt

kꜢ-nḫt wḥm-ḫꜤw
พระนามครองราชย์:

Autokrator, Ep. ḥqꜢ-ḥqꜢw mrj-Ꜣst-Ptḥ

Kaisaros Germanikos

Kaisaros Sebastos Germanikos Autokrator
พระนามประสูติ:

Tiberios Klaudios
Tiberios Klaudios Kaisaros ntj ḫw
ทรงทิ้งร่องรอยของพระองค์ไว้เล็กน้อยในอียิปต์ โดยทรงตำหนิคำขอจากอเล็กซานเดรียเพื่อให้ได้วุฒิสภาที่ปกครองตนเอง[26]
แนโร
ค. ค.ศ. 54 – ค.ศ. 68
พระนามฮอรัส:

ṯmꜢ-Ꜥ ẖwj-ḫꜢswt wr-nḫw-BꜢqt ḥqꜢ-ḥqꜢw stp-n-Nnw-Mrwr

ṯmꜢ-Ꜥ ẖwj-ḫꜢswt
พระนามครองราชย์:

ḥqꜢ-ḥqꜢw stp-n-Ptḥ mrj-Ꜣst

Kaisaros Germanikos
พระนามประสูติ:

Neron

Neron Klaudios, Ep. ḫw

Autokrator Neron

Neron Klaudios Kaisaros ntj ḫw
ทรงส่งกองทหารรักษาการณ์กลุ่มเล็ก ๆ ไปสำรวจตามแม่น้ำไนล์ทางตอนใต้ของอียิปต์ บางทีอาจจะทรงตั้งใจให้เป็นภารกิจสอดแนมเพื่อพิชิตดินแดนในภายหลัง[26]
กัลบา
ค. ค.ศ. 68 – ค.ศ. 69
พระนามประสูติ:

Serouios Galbas Autokrator
ทรงทิ้งร่องรอยของพระองค์ไว้เล็กน้อยในอียิปต์[26]
ออธอ
ค. ค.ศ. 69
พระนามประสูติ:

Markos Othon
ทรงทิ้งร่องรอยของพระองค์ไว้เล็กน้อยในอียิปต์[26]
ไม่ปรากฏร่องรอยในช่วงการครองราชย์เป็นระยะเวลาอันสั้นของจักรพรรดิวิแต็ลลิอุส (ค. ค.ศ. 69) ในอียิปต์
แว็สปาซิอานุส
ค. ค.ศ. 69 – ค.ศ. 79
พระนามประสูติ:

Ouespasianos

Ouespasianos ntj ḫw
จักรพรรดิพระองค์แรกที่เสด็จพระราชดำเนินเยือนอียิปต์นับตั้งแต่จักรพรรดิเอากุสตุส ซึ่งทรงได้รับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอย่างฟาโรห์[27]
ติตุส
ค. ค.ศ. 79 – ค.ศ. 81
พระนามฮอรัส:

ḥwnw-nfr bnr-mrwt
พระนามครองราชย์:

Titos

Autokrator Titos Kaisaros
พระนามประสูติ:

Ouespasianos
ทรงทิ้งร่องรอยของพระองค์ไว้เล็กน้อยในอียิปต์[28]
ดอมิติอานุส
ค. ค.ศ. 81 – ค.ศ. 96
พระนามฮอรัส:

ḥwnw-nḫt jṯj-m-sḫm.f.
พระนามฮอรัสทองคำ:

wsr-rnpwt ꜤꜢ-nḫtw
พระนามครองราชย์:

Ḥr-zꜢ-Ꜣst mrj-nṯrw-nb(w)
พระนามประสูติ:

Domitianos

Domitianos ntj ḫw

Domitianos Sebastos Kaisaros
ทรงโปรดให้เริ่มนำเทพเจ้าอียิปต์มาปรากฏไว้บนเหรียญที่ผลิตขึ้นในเมืองอเล็กซานเดรีย และทรงโปรดให้สร้างวิหารที่อุทิศแด่เทพเจ้า เช่น เทพีไอซิสและเทพเซราพิสในอิตาลี พระองค์ยังทรงพยายามที่จะเพิ่มความชอบธรรมให้กับการปกครองของจักรพรรดิอีกด้วย ด้วยการใช้ทรงเครื่องประกอบของการเป็นฟาโรห์[28]
แนร์วา
ค. ค.ศ. 96 – ค.ศ. 98
พระนามฮอรัส:

Nerouas ntj ḫw
ทรงทิ้งร่องรอยของพระองค์ไว้เล็กน้อยในอียิปต์[28]
ตรายานุส
ค. ค.ศ. 98 – ค.ศ. 117
พระนามครองราชย์:

Autokrator Kaisaros Nerouas

Germanikos Dakikos, Ep. Ꜥnḫ-ḏt
พระนามประสูติ:

Nerouas Traianos
Nerouas Traianos, Ep. Ꜥnḫ-ḏt mrj-Ꜣst

Traianos ntj ḫw

Traianos ntj ḫw + Aristos Germanikos Dakikos
แหล่งข้อมูลจากอียิปต์ในรัชสมัยของจักรพรรดิตรายานุส ปรากฏการเชื่อมโยงระหว่างจักรพรรดินีปอมเปอียา โปลตีนากับเทพีฮัตฮอร์ ซึ่งเป็นความสัมพันธ์โดยตรงครั้งแรกที่รู้จักกันระหว่างราชวงศ์ของจักรพรรดิ (นอกเหนือจากจักรพรรดิ) กับเทพเจ้าอียิปต์[29]
ฮาดริอานุส
ค. ค.ศ. 117 – ค.ศ 138
พระนามประสูติ:

Traianos Adrianos, Ep. Ꜥnḫ-ḏt mrj-Ꜣst

Adrianos ntj ḫw

Hadrianus Caesar
เสด็จพระราชดำเนินเยือนอียิปต์โดยรัฐเป็นระยะเวลานานถึง 8/10 เดือนในปี ค.ศ. 130 – ค.ศ. 131 ทรงเยี่ยมชมสถานที่สำคัญหลายแห่งและทรงโปรดให้สร้างเมืองอันติโนโพลิส โดยลัทธิอันตินออัสของจักรพรรดิฮาดริอานุสได้รับอิทธิพลมาจากเทววิทยาอียิปต์ ทรงปกครองในช่วงเวลาคลั่งวัฒนธรรมอียิปต์โบราณ[30]
อันตอนินุส พิอุส
ค. ค.ศ. 138 – ค.ศ. 161
พระนามฮอรัส:

nfr-n(?)-tꜢ-nṯr ḥn-n-f-ŠmꜤw-Mḥw-m-nḏm-jb
พระนามครองราชย์:

Autokrator Kaisaros Titos Ailios Adrianos
พระนามประสูติ:

Antoninos ntj ḫw + Eusebes

Antoninos Sebastos Eusebes ntj ḫw

Antoninos ntj ḫw Ꜥnḫ-ḏt

Antoninos ntj ḫw, Ep. šꜢj-n-BꜢqt
ทรงเฉลิมฉลองในอียิปต์โบราณ เนื่องจากวงจรโซธิกครบรอบในปี ค.ศ. 139 รัชสมัยอันยาวนานของพระองค์จึงได้เห็นการก่อสร้างวิหารที่สำคัญครั้งสุดท้ายในอียิปต์ ทรงเสด็จพระราชดำเนินเยือนเมืองอเล็กซานเดรียในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 150 เพื่อทรงอุปถัมภ์อาคารใหม่หลายแห่ง[31]
ลูกิอุส เวรุส
ค. ค.ศ. 161 – ค.ศ. 169


Loukio(s) Aurelio(s), Ep. wr-ꜤꜢ Ꜥnḫ-ḏt[lower-alpha 6]
ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับจักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส[20]
มาร์กุส เอาเรลิอุส
ค. ค.ศ. 161 – ค.ศ. 180


Aurelios Antoninos ntj ḫw

Autokrator Kaisaros Mark(os) Aurelio(s) Antonin(os)

Aure(li)os, Ep. Ꜥnḫ-ḏt + Antonin(os), Ep. Ꜥnḫ-ḏt

[Markos] Aurelio(s) Antoninos Sebastos
ทรงเผชิญกับการก่อการจลาจลของชาวอียิปต์พื้นเมืองที่นำโดยอิซิดอรุสในปี ค.ศ. 171 – ค.ศ. 175 และการก่อจลาจลของผู้แย่งชิงตำแหน่งนามว่า อะวิดิอุส กัสซิอุส ในปี ค.ศ. 175 ที่สนับสนุนโดยอียิปต์ ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปยังอียิปต์ในปี ค.ศ. 176 ซึ่งเป็นมณฑลที่ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากโรคระบาดอันโตนีน ทรงโปรดให้ยกเลิกตัวอักษรเดมอติกซึ่งแทนที่ตัวอักษรกรีก โดยทรงให้ใช้อย่างเป็นทางการในอียิปต์[33]
ก็อมมอดุส
ค. ค.ศ. 180 – ค.ศ. 192


Markos Au(re)lios Komodos Antoninos

Komodos Kaisaros(?)

Komodos Antoninos ntj ḫw
จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายที่ทรงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในฐานะผู้อุปถัมภ์ของฟาโรห์ในวิหารของอียิปต์ การลดลงของการเป็นตัวแทนของจักรพรรดิในเวลาต่อมาอาจเป็นผลมาจากทรัพยากรที่ลดลงสำหรับนักบวชและวิหารแทนที่จะเป็นการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและนโยบายของจักรวรรดิ[34]
ไม่ปรากฏตำแหน่งราชวงศ์ของฟาโรห์ใดเลยของจักรพรรดิที่ปกครองในช่วงเวลาอันสั้นทั้งสองพระองค์ในปีแห่งห้าจักรพรรดิ (ค.ศ. 193)[20] จักรพรรดิแปร์ตินักซ์ทรงเป็นที่รู้จักในอียิปต์ช่วงเวลาสั้น ๆ จำนวน 22 วันก่อนการปลงพระชนม์ของพระองค์ และส่วนจักรพรรดิดิดิอุส ยูลิอานุส กลับทรงไม่เป็นที่รู้จักในอียิปต์เลย และแป็สแก็นนิอุส นิแกร์ ซึ่งเป็นผู้แย่งชิงตำแหน่งกลับเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งที่ได้รับการยอมรับของจักรพรรดิแปร์ตินักซ์ในอียิปต์[35] แต่ไม่ทราบตำแหน่งราชวงศ์ของฟาโรห์ที่หลงเหลือเช่นกัน[20]
แซ็ปติมิอุส เซเวรุส
ค. ค.ศ. 193 – ค.ศ. 211


Seouēros ntj ḫw
เสด็จประพาสอียิปต์พร้อมกับพระราชวงศ์ในปี ค.ศ. 199 – ค.ศ. 200 ทรงโปรดให้บูรณะปฏิสังขรณ์อาคารเก่าและจัดตั้งวุฒิสภาในเมืองอเล็กซานเดรียและที่อื่น ๆ การแตกแยกทางศาสนาและการโต้เถียงนำไปสู่การประหัตประหารชาวคริสต์ครั้งใหญ่ครั้งแรกในอียิปต์ในปี ค.ศ. 201[36]
แกตา
ค. ค.ศ. 211


Geta(s) ntj ḫw
ทรงเป็นจักรพรรดิที่ปกครองร่วมเป็นระยะเวลอันสั้นกับจักรพรรดิการากัลลา[20]
การากัลลา
ค. ค.ศ. 211 – ค.ศ 217


Antoninos ntj ḫw
ทรงเพิ่มความความเป็นพลเมืองโรมันให้กับชาวโรมันทุกคนผ่านรัฐธรรมนูญแห่งอันโตนินุสในปี ค.ศ. 212 พระนามของพระองค์คือ เอาเรลิอุส[lower-alpha 7] จากนั้นก็เป็นเรื่องปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอียิปต์[37]
มากรินุส
ค. ค.ศ. 217 – ค.ศ. 218


Makrino(s) n(tj) ḫw
ทรงทำลายข้อปฏิบัติที่มีมายาวนานและทรงส่งผู้ปกครองและวุฒิสมาชิกไปปกครองอียิปต์ ถึงแม้ว่าทั้งคู่จะถูกปลดจากตำแหน่งและวุฒิสมาชิกถูกสังหารหลังจากการสวรรคตของจักรพรรดิมากรินุส[38]
ดิอาดุเมนิอานุส
ค. ค.ศ. 218


Diadoumenianos
เป็นจักรพรรดิร่วมกับจักรพรรดิมากรินุส[20]
จักรพรรดิแอลากาบาลุส (ค. ค.ศ. 218 – ค.ศ. 222) ทรงสืบทอดตำแหน่งต่อจากจักรพรรดิมากรินุสและจักรพรรดิดิอาดุเมนิอานุส ซึ่งทรงไม่ได้ถูกกล่าวถึงในแหล่งข้อมูลอียิปต์ที่ยังหลงเหลืออยู่[35] ผู้สืบทอดตำแหน่งของพระองค์พระนามว่า จักรพรรดิแซเวรุส อาแล็กซันแดร์ (ค. ค.ศ. 222 – ค.ศ. 235) ทรงเป็นที่รู้จักในอียิปต์ ไม่ปรากฏตำแหน่งราชวงศ์ของฟาโรห์ที่หลงเหลืออยู่[20] จักรพรรดิที่ทรงปกครองเป็นระยะเวลาอันสั้นอย่างจักรพรรดิมักซิมินุส ตรักซ์ (ค. ค.ศ. 235 – ค.ศ. 238), จักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 1 (ค. ค.ศ. 238), จักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 2 (ค. ค.ศ. 238), จักรพรรดิพูพิเอนุส (ค. ค.ศ. 238), จักรพรรดิบัลบินุส (ค. ค.ศ. 238) และจักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 3 (ค. ค.ศ. 238 – ค.ศ. 244) ทรงมีส่วนเกี่ยวข้องในอียิปต์น้อยมากและทรงไม่ได้ถูกบันทึกไว้ในเอกสารหลักฐานอียิปต์ที่ยังหลงเหลืออยู่
ฟิลิปปุส
ค. ค.ศ. 244 – ค.ศ. 249


Philippos ntj ḫw
เนื่องจากการบริหารที่ผิดพลาดมาหลายทศวรรษและการปะทะกันทางการเมือง อียิปต์จึงตกอยู่ในความยากจนในช่วงเวลาที่จักรพรรดิฟิลิปปุสทรงขึ้นครองราชย์ และเป็นฟาโรห์พระองค์สุดท้ายจะได้รับการรำลึกไว้ที่วิหารขนาดใหญ่ที่เอสนา[39]
เดกิอุส
ค. ค.ศ. 249 – ค.ศ 251


Dekios ntj ḫw
ทรงกำกับการข่มเหงชาวคริสเตียน รัชสมัยของพระองค์บริเวณอียิปต์ทางตอนใต้ถูกโจมตีโดยพวกเบลมมิเอส ซึ่งเป็นครั้งแรกที่อียิปต์ตอนใต้ถูกโจมตีนับตั้งแต่รัชสมัยจักรพรรดิเอากุสตุส[40]
จักรพรรดิแตรบอนิอานุส กัลลุส (ค. ค.ศ. 251 – ค.ศ. 253) และจักรพรรดิไอมิลิอานุส (ค. ค.ศ. 253) ทรงได้รับการยอมรับในอียิปต์ ตามเอกสารทางการและเหรียญที่ผลิตในเมืองอเล็กซานเดรีย[41] แต่ไม่ปรากฏตำแหน่งราชวงศ์ของฟาโรห์ใดเลย[20]
วาแลริอานุส
ค. ค.ศ. 253 – ค.ศ. 260


Oualerianos
ทรงไม่เป็นที่ชอบโดยชาวคริสเตียนจากการข่มเหงชาวคริสเตียนอีกครั้ง แต่พระองค์กลับเป็นที่นิยมของในหมู่นักบวชชาวอียิปต์[42]
หลังจากรัชสมัยของจักรพรรดิวาแลริอานุส อียิปต์ถูกควบคุมโดยกลุ่มผู้แย่งชิงตำแหน่ง ได้แก่ มากริอานุส มินอร์ (ค. ค.ศ. 260 – ค.ศ. 261), กวีเอตุส (ค. ค.ศ. 260 – ค.ศ. 261) และลูกิอุส มุสซิอุส ไอมิลิอานุส (ค. ค.ศ. 261– ค.ศ. 262)[43] ซึ่งไม่ปรากฏตำแหน่งราชวงศ์ของฟาโรห์ใดเลยทั้งหมด[20] จักรพรรดิที่ถูกต้องตามกฎหมายอย่างกัลลิเอนุส (ค. ค.ศ. 262 – ค.ศ. 268) ทรงเป็นที่รู้จัก,[44] ไม่ปรากฏตำแหน่งราชวงศ์ของฟาโรห์ในรัชสมัยของพระองค์[20] ปรากฏบันทึกไม่กี่ชิ้นที่หลงเหลือจากอียิปต์จากผู้สืบทอดของจักรพรรดิกัลลิอานุสโดยปรากฏหลักฐานเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับรัชสมัยของจักรพรรดิเกลาดิอุส กอทิกุส (ค. ค.ศ. 268 – ค.ศ. 270), จักรพรรดิควินติลลุส (ค. ค.ศ. 270), จักรพรรดิเอาเรลิอานุส (ค. ค.ศ. 270 – ค.ศ. 275) และจักรพรรดิตากิตุส (ค. ค.ศ. 275 – ค.ศ. 276) ถึงแม้ว่าทรงเป็นที่รู้จักของของชาวอียิปต์ทั้งหมด ตลอดช่วงเกือบปี ค.ศ. 271 อียิปต์ถูกยึดครองโดยซีโนเบียแห่งอาณาจักรพัลไมรีน จนกระทั่งมณฑลนี้ถูกยึดคืนโดยจักรพรรดิเอาเรลิอานุส รัชสมัยอันสั้นของจักรพรรดิฟลอริอานุส (ค. ค.ศ. 276) ซึ่งพระองค์ทรงไม่เป็นที่ยอมรับอย่างชัดเจนในอียิปต์ โดยกองทหารอียิปต์ที่สนับสนุนจักรพรรดิปลอบุส
ปรอบุส
ค. ค.ศ. 276 – ค.ศ. 282


Autokrator Probos (?)[lower-alpha 8]
ทรงยึดพระราชบัลลังก์จักรวรรดิด้วยการสนับสนุนของอียิปต์ ทรงเอาชนะพวกเบลมมิเอส ซึ่งบุกขึ้นไปทางเหนือไกลถึงเมืองคอปโตส[46]
จักรพรรดิการุส (ค. ค.ศ. 282 – ค.ศ. 283), จักรพรรดิการินุส (ค. ค.ศ. 283 – ค.ศ. 285) และจักรพรรดินุเมริอานุส (ค. ค.ศ. 283 – ค.ศ. 284) ทรงไม่ได้ถูกบันทึกไว้ในแหล่งข้อมูลของอียิปต์[20][44]
ดิออเกลติอานุส
ค. ค.ศ. 284 – ค.ศ. 305


Diokletian(os)
ทรงทำการปฏิรูป ซึ่งได้ขจัดความเสื่อมทรามออกไปอียิปต์มาก ทำให้อียิปต์สามารถบูรณาการทางเศรษฐกิจและการบริหารกับมณฑลอื่นๆ ได้มากขึ้น ดินแดนทางตอนใต้ของอียิปต์ถูกทิ้งร้างระหว่างการเสด็จพระราชดำเนินเยือนอียิปต์ในปี ค.ศ. 298 และมีการข่มเหงชาวคริสเตียนนั้นมีความรุนแรงเป็นอย่างมากในอียิปต์[47]
มักซิมิอานุส
ค. ค.ศ. 286 – ค.ศ. 305


Maksimiano(s)
ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันตะวันตก ซึ่งปกครองร่วมกับจักรพรรดิดิออเกลติอานุส แต่ทรงไม่ได้ควบคุมอียิปต์[20]
กาแลริอุส
ค. ค.ศ. 305 – ค.ศ. 311


Kaisaros Iouio(s) Maksimio(s)
การกดขี่ข่มเหงชาวคริสเตียนยังคงดำเนินต่อไปจนกระทั่งจักรพรรดิกาแลริอุสทรงออกพระราชโองการขันติธรรมทางศาสนา[20]
มักซิมินุส ดาซา
ค. ค.ศ. 311 – ค.ศ. 313


Kaisaros Oualerios Mak(sim)inos
จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายที่ชาวอียิปต์ถือว่าทรงเป็นฟาโรห์[48]
จักรพรรดิมักซิมินุส ดาซา เป็นจักรพรรดินอกรีตที่ผู้ทรงโหดร้ายพระองค์สุดท้ายที่ทรงควบคุมอียิปต์ และเป็นจักรพรรดิโรมันพระองค์สุดท้ายที่ทรงได้รับการยอมรับในบันทึกอักษรอียิปต์โบราณ ถึงแม้ว่าคาร์ทูชหลายอันจะถูกบันทึกในเวลาต่อมา (คาร์ทูชที่เป็นที่ทราบที่บันทึกเป็นครั้งสุดท้าย คือ รัชสมัยของจักรพรรดิกอนสแตนติอุสที่ 2 ในปี ค.ศ. 340) แต่ชาวอียิปต์นอกรีตกลับใช้คาร์ทูชของจักรพรรดิดิออเกลติอานุสแทนการยกย่องจักรพรรดิคริสเตียนในช่วงเวลาหลัง


ใกล้เคียง

ฟาโรห์ตุตันคาเมน ฟาโรห์อูนัส ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 2 ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 1 ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 3 ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 3 ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 4 ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 ฟาโรห์โจเซอร์ ฟาโรห์เมเนส

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฟาโรห์โรมัน https://archive.org/details/keysofegyptobses00adki https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b... https://etd.ohiolink.edu/pg_10?0::NO:10:P10_ACCESS... https://oi.uchicago.edu/sites/oi.uchicago.edu/file... https://books.google.com/books?id=0M4UDAAAQBAJ https://books.google.com/books?id=lYo-wI8aBYEC&q=%... https://doi.org/10.2307%2F4238573 https://www.jstor.org/stable/4238573 https://books.google.com/books?id=dRcnDAAAQBAJ https://books.google.com/books?id=WJp3Gmerg_cC&q=m...