ภาวะพิษกาเฟอีน

กาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นประสาทมีอยู่ตามธรรมชาติในกาแฟ ชา มาเต (llex paraguariensis) และพืชประเภทอื่น ๆ เป็นส่วนผสมของเครื่องบริโภคมากมาย โดยเฉพาะในเครื่องดื่มที่โฆษณาว่า เป็นเครื่องดื่มชูกำลังนอกจากนั้นแล้ว ยังมีกาเฟอีนในน้ำอัดลมเช่นโคคา-โคล่าและเป็ปซี่ โดยกำหนดในฉลากแสดงองค์ประกอบว่า เป็นเครื่องปรุงรสกลไกการทำงานของกาเฟอีนแตกต่างจากยาเสพติดประเภทอื่น ๆ รวมทั้งโคเคนและแอมเฟตามีนคือ กาเฟอีนมีฤทธิ์ระงับ (antagonization) การทำงานของหน่วยรับความรู้สึกของสาร adenosine ในระบบประสาทและเพราะว่า adenosine เป็นสารพลอยได้ของการทำงานของเซลล์ ซึ่งมีฤทธิ์ต่อหน่วยความรู้สึกมีผลให้เกิดความรู้สึกเหนื่อยและความอยากจะนอนดังนั้น การเข้าไประงับหน่วยความรู้สึกจึงมีผลให้ระดับสารกระตุ้นประสาทตามธรรมชาติคือโดพามีนและ norepinephrine ดำรงอยู่ในระดับที่สูง.ช่วงขณะที่กาเฟอีนกำลังออกฤทธิ์ กระบวนการ antagonization ของหน่วยรับความรู้สึกประเภท adenosine จะเพิ่มขึ้น และระดับสารสื่อประสาทก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน

ภาวะพิษกาเฟอีน

ICD-10 F15

ใกล้เคียง

ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ ภาวะพิษกาเฟอีน ภาวะพิษจากเมทานอล ภาวะพหุสัณฐานของยีน ภาวะพร่องออกซิเจน ภาวะพร่องเอนไซม์ไรโบส-5-ฟอสเฟตไอโซเมอเรส ภาวะพหุสัณฐาน (ชีววิทยา) ภาวะพร่องออกซิเจนแบบไม่แสดงอาการ ภาวะพบร่วม PHACE ภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD

แหล่งที่มา

WikiPedia: ภาวะพิษกาเฟอีน http://washington.cbslocal.com/2014/01/29/experts-... http://www.health24.com/News/Do-you-have-caffeine-... http://news.nationalgeographic.com/news/2005/01/01... http://www.redorbit.com/news/health/1113057924/caf... http://apps.who.int/classifications/icd10/browse/2... http://www.news-medical.net/health/Caffeine-Pharma... //dx.doi.org/10.1001%2Fjama.1993.03510240085039 //dx.doi.org/10.1007%2Fs00213-004-2000-x //dx.doi.org/10.1007%2Fs002130100916 //dx.doi.org/10.1016%2F0165-0173(92)90012-B