กลไกการออกฤทธิ์ ของ ยาลดความอ้วน

ยารักษาภาวะโรคอ้วน จะออกฤทธิ์ ตามกลไกข้อหนึ่งหรือหลายข้อต่อไปนี้ :

  • กดศูนย์ควบคุมความอยากอาหาร. สารแคทิโคลามีน และอนุพันธุ์ (เช่น เฟนเทอร์มีน และ ยาที่มี สารแอฟเฟตามีน รวมอยู่ด้วย) เป็นสารที่ทำหน้าที่หลักในการกดศูนย์ควคุมนี้, แม้แต่ยาในกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ยาต้านอาการซึมเศร้า และยาปรับอามรมร์ก็จะมีผลเล็กน้อยในการกดความอยากอาหารด้วย (ดูหัวข้อ: บิวโพรไพโอน และ โทพิราเมท). ในอนาคต ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งตัวจับ ตัวจับแคนาบินอยด์ อาจมีผลต่อการกดความอยากอาหารด้วย.[10]
  • เพิ่มกระบวนการ เมตาบอลิสม ของร่างกาย
  • ออกฤทธิ์โดยตรงต่อกระบวนการดูดซึมสารอาหารของร่างกาย. ตัวอย่างเช่น, โอลิทแสตท (ที่รู้จักกันในชื่อของเซนิคาล และ แอลไล) จะยับยั้งการสลายของไขมัน ดังนั้นจึงป้องกันการดูดดซึมของไขมัน. อาหารเสริมไฟเบอร์ที่มีจำหน่ายทั่วไป ได้แก่ กลูโคมาแนน และ กัวกัม ได้ถูกนำมาใช้ในการยับยั้งการย่อยอาหารและทำให้การดูดซึมพลังงานลดลงด้วย

ยากลุ่มทำให้เบื่ออาหาร ในเบื้องต้นได้ถูกนำมาใช้ในการกดความอยากอาหาร, แต่ยากลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะมีฤทธิ์เป็น สารกระตุ้น ด้วย (เช่นเด็กเซอดรีน), และ จะทำให้ผู้ป่วยนำไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ในการที่จะนำมากดความอยากอาหาร (เช่น. ดิจ๊อกซิน).

แหล่งที่มา

WikiPedia: ยาลดความอ้วน http://trove.nla.gov.au/ndp/del/article/52188122 http://www.cbc.ca/health/story/2007/01/02/rimonaba... http://hc-sc.gc.ca/dhp-mps/medeff/advisories-avis/... http://www.hc-sc.gc.ca/ahc-asc/media/advisories-av... http://media.aace.com/press-release/research-shows... http://news.google.com/newspapers?nid=1301&dat=193... http://www.medicinenet.com/acarbose-oral/article.h... http://www.nature.com/nrd/journal/v5/n11/abs/nrd21... http://www.peptimmune.com http://bf4dv7zn3u.search.serialssolutions.com/?ctx...