สมบัติ ของ ยูเนียน

ยูเนียนมีสมบัติต่างๆ ทางพีชคณิตดังต่อไปนี้

  • ยูเนียนมีสมบัติการสลับที่ ดังนั้นลำดับในการยูเนียนเซตจึงเป็นอย่างไรก็ได้
    • A ∪ B = B ∪ A {\displaystyle A\cup B=B\cup A}
  • ยูเนียนมีสมบัติการเปลี่ยนหมู่ จากตัวอย่างนี้
    • ( A ∪ B ) ∪ C = A ∪ ( B ∪ C ) = A ∪ B ∪ C {\displaystyle (A\cup B)\cup C=A\cup (B\cup C)=A\cup B\cup C}
  • สมาชิกเอกลักษณ์ของการยูเนียนคือเซตว่าง
    • ∅ ∪ A = A ∪ ∅ = A {\displaystyle \varnothing \cup A=A\cup \varnothing =A}
  • เซตใดๆ ที่ยูเนียนกับเอกภพสัมพัทธ์ จะได้เอกภพสัมพัทธ์
    • U ∪ A = A ∪ U = U {\displaystyle \mathbf {U} \cup A=A\cup \mathbf {U} =\mathbf {U} }
  • ยูเนียนกับอินเตอร์เซกชัน มีสมบัติการแจกแจงซึ่งกันและกัน
    • A ∪ ( B ∩ C ) = ( A ∪ B ) ∩ ( A ∪ C ) ⟺ ( B ∩ C ) ∪ A = ( B ∪ A ) ∩ ( C ∪ A ) {\displaystyle A\cup (B\cap C)=(A\cup B)\cap (A\cup C)\Longleftrightarrow (B\cap C)\cup A=(B\cup A)\cap (C\cup A)}
    • A ∩ ( B ∪ C ) = ( A ∩ B ) ∪ ( A ∩ C ) ⟺ ( B ∪ C ) ∩ A = ( B ∩ A ) ∪ ( C ∩ A ) {\displaystyle A\cap (B\cup C)=(A\cap B)\cup (A\cap C)\Longleftrightarrow (B\cup C)\cap A=(B\cap A)\cup (C\cap A)}
  • ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และส่วนเติมเต็ม มีความสัมพันธ์กันในกฎเดอมอร์แกน
    • ( A ∪ B ) C = A C ∩ B C {\displaystyle (A\cup B)^{\mathrm {C} }=A^{\mathrm {C} }\cap B^{\mathrm {C} }}
    • ( A ∩ B ) C = A C ∪ B C {\displaystyle (A\cap B)^{\mathrm {C} }=A^{\mathrm {C} }\cup B^{\mathrm {C} }}