สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง
สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง

สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง

สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง (อังกฤษ: Two-streams hypothesis) เป็นสมมุติฐานที่ได้การยอมรับอย่างกว้างขวาง และมีความสำคัญในการศึกษาวิจัยการประมวลผลของนิวรอนในระบบสายตา[1] เดวิด มิลเนอร์ และเมลวิน กูดเดล ได้จำแนกลักษณะต่าง ๆ ของทางสัญญาณสองทางที่มีความนิยมที่สุดในงานวิจัยปี พ.ศ. 2535 ที่เสนอว่า มนุษย์มีระบบสายตา 2 ระบบ[2] คือเมื่อข้อมูลทางตาออกจากสมองกลีบท้ายทอย (Occipital lobe) แล้ว ก็แยกออกเป็นสองเส้นทาง คือ

ใกล้เคียง

สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง สมมุติ เบ็ญจลักษณ์ สมมุติว่า..? (ฤดูกาล 1) สมมุติว่า..? สมมุติว่า..? (ฤดูกาล 2) สมมุติฐานเฉพาะกิจ สมมุติฐานว่าง สมมุติฐานการฟื้นตัวทางสังคม สมมุติฐาน สมมุติสงฆ์

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/1374953 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18037456 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19428404 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/7552179 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/9751656 //doi.org/10.1016%2F0166-2236(92)90344-8 //doi.org/10.1016%2FS0959-4388(98)80042-1 //doi.org/10.1016%2FS0960-9822(95)00133-3 //doi.org/10.1016%2Fj.neuropsychologia.2007.10.005 //doi.org/10.1016%2Fj.neuropsychologia.2009.02.009