เชิงอรรถ ของ สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง

  1. เช่นจะเอื้อมมือไปหยิบอะไรต้องรู้ว่าวัตถุนั้นอยู่ที่ไหน โปรแกรมพฤติกรรมการเอื้อมมือไปหยิบวัตถุนั้น
  2. การเข้ารหัสโดยรวม ๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็ก ๆ บนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้
  3. คือถ้าไม่เห็นด้วยตาทั้งสอง เพื่อที่จะเห็นความลึกหรือระยะทางของวัตถุที่อยู่ข้างหน้า ต้องขยับตาไปมาเพื่อให้สมองสามารถประมวลข้อมูลเกี่ยวกับความลึกเป็นต้นนั้น เช่นนกพิราบเป็นสัตว์ที่ไม่มี binocular vision เพื่อที่จะดูว่าอะไรอยู่ไกลแค่ไหน นกต้องขยับหัวขึ้นลง
  4. คือไม่ได้มาจากชั้น Magnocellular
  5. พูดโดยอีกนัยหนึ่ง คือแต่ละจุดในลานสายตา จะมีนิวรอนในแต่ละเขตที่ประมวลผลจากข้อมูลของจุดนั้นต่อ ๆ กันตามลำดับของเขต เพราะฉะนั้น แต่ละเขตจึงมีข้อมูลที่ประมวลมาจากข้อมูลจากลานสายตาทั้งหมด
  6. สำหรับเซลล์ประสาทหนี่ง ๆ เซลล์นั้นอาจจะมีการตอบสนองดีที่สุดต่อตัวกระตุ้นเฉพาะอย่าง ที่ปรากฏในลานรับสัญญาณของเซลล์ คุณสมบัตินี้เรียกว่า การเลือกตัวกระตุ้นของนิวรอน (Neuronal tuning) ในเขตสายตาขั้นแรก ๆ เซลล์ประสาทจะมีการเลือกตัวกระตุ้นที่ง่าย ๆ เช่น เซลล์ประสาทหนึ่งใน V1 อาจจะยิงสัญญาณเมื่อมีตัวกระตุ้นแนวตั้งในลานรับสัญญาณของเซลล์
  7. คือระบบความจำที่รองรับข้อมูลชั่วคราวซึ่งสมองใช้ในการประมวลผล เช่น จะจำเบอร์โทรศัพท์อย่างชั่วคราวได้ก็จะต้องใช้ระบบนี้

ใกล้เคียง

สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง สมมุติ เบ็ญจลักษณ์ สมมุติว่า..? (ฤดูกาล 1) สมมุติว่า..? สมมุติว่า..? (ฤดูกาล 2) สมมุติฐานเฉพาะกิจ สมมุติฐานว่าง สมมุติฐานการฟื้นตัวทางสังคม สมมุติฐาน สมมุติสงฆ์

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/1374953 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18037456 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19428404 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/7552179 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/9751656 //doi.org/10.1016%2F0166-2236(92)90344-8 //doi.org/10.1016%2FS0959-4388(98)80042-1 //doi.org/10.1016%2FS0960-9822(95)00133-3 //doi.org/10.1016%2Fj.neuropsychologia.2007.10.005 //doi.org/10.1016%2Fj.neuropsychologia.2009.02.009