เนื้อหา ของ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน

ฉบับปรกติ

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ฉบับปรกติ จนถึงปี พ.ศ. 2559 มีทั้งหมดรวม 41 เล่ม ดังต่อไปนี้

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 1พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2516 มีทั้งหมด 9 เรื่อง คือ

ดวงอาทิตย์ อุปราคา ท้องฟ้ากลางคืน นก ปลา เครื่องจักรกล พลังงาน อากาศยาน และ ดนตรีไทย[2]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 2พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2518 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

การจำแนกและจัดลำดับหมวดหมู่ของสัตว์ เวลา บรรยากาศ การตรวจอากาศ อุตสาหกรรม อุปกรณ์ขยายขอบเขตของสัมผัส มหาราชในประวัติศาสตร์ไทย การศึกษา กรุงเทพมหานคร และ ตราไปรษณียากรไทย[3]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 3พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2520 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

ข้าว ข้าวโพด ฝ้าย ยางพารา ทรัพยากรป่าไม้ ผลิตผลป่าไม้ การทำไม้ วัชพืช วัว ควาย และ ช้าง[4]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 4พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2521 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

การเรืองแสงของสิ่งมีชีวิต การหายใจ ความสมดุลของของเหลวในร่างกาย ไวรัส ปรากฏการณ์ของอากาศ ภูมิอากาศ รถไฟ การศาสนา การต่างประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ และ ลำดับพระมหากษัตริย์ไทย[5]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 5พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2523 มีทั้งหมด 9 เรื่อง คือ

ผัก ไม้ผล อ้อย มันสำปะหลัง พืชหัว การขยายพันธุ์พืช เป็ด ไก่ และ พันธุ์ไม้ป่า[6]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 6พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2525 มีทั้งหมด 15 เรื่อง คือ

คณิตศาสตร์เบื้องต้น ประวัติและพัฒนาการเกี่ยวกับจำนวน เซต ตรรกวิทยา ฟังก์ชัน สมการและอสมการ จุด เส้น และผิวโค้ง ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร สถิติ ความน่าจะเป็น เมตริก กราฟ และ คณิตศาสตร์ ธรรมชาติ และ ศิลปะ[7]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 7พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2525 มีทั้งหมด 9 เรื่อง คือ

กล้วยไม้ ผีเสื้อในประเทศไทย การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม โรคพืช ครั่ง การเลี้ยงปลา การชลประทาน บ้านเรือนของเรา และ โทรคมนาคม (ภาคแรก)[8]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 8พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2526 มีทั้งหมด 7 เรื่อง คือ

ประวัติการแพทย์และเภสัชกรรมไทย กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา การกำเนิดของโรค การบริบาลทารกและโรคทางกุมารเวชศาสตร์ ศัลยศาสตร์และวิสัญญีวิทยา เลือดและธนาคารเลือดในประเทศไทย และอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล[9]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 9พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2528 มีทั้งหมด 13 เรื่อง คือ

เรื่องของยา สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา วิธีการทางการแพทย์ในการควบคุมการเจริญพันธุ์ การทำแท้ง การสาธารณสุข โรคมะเร็ง รังสีวิทยา ฟันและเหงือกของเรา เวชศาสตร์ชันสูตร เวชศาสตร์ฟื้นฟู นิติเวชศาสตร์ โภชนาการ และ ยาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท[10]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 10พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2530 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

โรคทางอายุรศาสตร์ โรคติดต่อและโรคเขตร้อน โรคภูมิแพ้ โรคผิวหนังที่พบบ่อยในประเทศไทย โรคตา โรคหู คอ จมูก จิตเวชศาสตร์และสุขภาพจิต สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และ การปลูกกระดูกข้ามคน[11]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 11พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2531 มีทั้งหมด 9 เรื่อง คือ

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ระบบการสั่งงานของคอมพิวเตอร์ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ สิ่งประดิษฐ์จากพัฒนการด้านคอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ และ พัฒนาการอักษรไทยในเครื่องคอมพิวเตอร์[12]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 12พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2531 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

การแพทย์ การศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาชาวเขาและการเกษตรที่สูง การพัฒนาการเกษตรในชนบท การศึกษาการพัฒนา การสหกรณ์ การพัฒนาแหล่งน้ำ การพัฒนาปัจจัยการผลิต และ แผนที่[13]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 13พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2532 มีทั้งหมด 11 เรื่อง คือ

เรือนไทย ชีวิตชนบท หัตกรรมพื้นบ้าน จิตรกรรมไทย นาฏศิลป์ไทย ตุ๊กตาไทย การละเล่นของไทย อาหารไทย การประดิษฐ์ผักและผลไม้ การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม และ ธนาคาร[14]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 14พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2533 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

พระราชวังในกรุงเทพมหานคร พระราชวังในส่วนภูมิภาค ประติมากรรมไทย อาหารสัตว์ พืชอาหารสัตว์ การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ ข้าวฟ่าง เทคโนโลยีชีวภาพ สารพิษและสิ่งปนเปื้อนอาหาร และ สมุนไพร[15]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 15พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2534 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

ผึ้ง การเลี้ยงผึ้งโพรงไทย ยาสูบ ไม้สัก ผ้าไทย ชุมชนโบราณในเมืองไทยจากหลักฐานภาพถ่ายทางอากาศ น้ำเสีย ขยะมูลฝอย มลพิษทางอากาศ และ ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับสากล[16]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 16พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2535 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

การบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระไตรปิฎกและ การชำระพระไตรปิฎก การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ ศิลาจารึกและการอ่านจารึก สังคมและวัฒนธรรมไทย การผลิตหนังสือ การดนตรีสำหรับเยาวชน การช่างและหมู่บ้านช่าง ดาวเทียมเพื่อการเกษตร และ การฟื้นฟูสมรรถภาพเยาวชนผู้พิการทางด้านการศึกษา[17]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 17พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2536 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

ช้างเผือก ฉันทลักษณ์ไทย ระบบนิเวศและความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับสิ่งมีชีวิต โรคตับอักเสบจากไวรัส ของเสียที่เป็นอันตราย การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ปอแก้วปอกระเจา พืชเส้นใย การปรับปรุงพันธุ์พืช และ ข้าวสาลี[18]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 18พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2537 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

สภาพแวดล้อมกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในประเทศไทย ประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์ การแต่งกายของคนไทย กฎหมายกับสังคมไทย ประวัติการพิมพ์ไทย ภาษาและอักษรไทย ยาฆ่าแมลง ดินและปุ๋ย การเลี้ยงหมู และ ระบบการค้าผลิตผลการเกษตร[19]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 19พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2538 มีทั้งหมด 9 เรื่อง คือ

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พืชน้ำมัน การถนอมผลิตผลการเกษตร ม้า แมลง เครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ศิลปะการนับเบื้องต้น ภูมิปัญญาชาวบ้าน และ สารกึ่งตัวนำ[20]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 20พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2538 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

ศาสนาและระบบความเชื่อในประเทศไทย ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับต่างประเทศ จิตรกรรมไทยแบบประเพณี เสียงและมลภาวะทางเสียง เลเซอร์ เซลล์แสงอาทิตย์ อัญมณี เวชศาสตร์การบิน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ และ การปลูกถ่ายอวัยวะ[21]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 21พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2539 มีทั้งหมด 9 เรื่อง คือ

กระบวนพยุหยาตรา วีรสตรีไทย ศิลปะการทอผ้าไทย เครื่องถม เครื่องปั้น การตลาดและการส่งออกศิลปหัตถกรรม พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และ องค์การสหประชาชาติและองค์การในเครือ[22]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 22พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2540 มีทั้งหมด 9 เรื่อง คือ

ภาษาศาสตร์ เครื่องถ้วยไทย เครื่องจักสาน ไม้ดอกหอมของไทย เครื่องทุ่นแรงและเครื่องจักรกลเกษตร อาชีวอนามัย ครอบครัวไทย สัตว์ทะเลหน้าดิน และ ท่าอากาศยาน[23]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 23พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2541 มีทั้งหมด 10 เรื่อง คือ

ภูมิปัญญาไทย วัฒนธรรมทางละครไทย ละครรำ การละเล่นพื้นเมือง ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย ชาติพันธุ์ เฟิร์นไทย ไม้ในวรรณคดีไทย (ตอน1) การทำงานใต้น้ำ ระบบวิทยุ และ การผลิตเบียร์[24]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 24พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2542 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

วรรณคดีมรดก ไม้ในวรรณคดีไทย (ตอน2) เมืองหลวงเก่าของไทย การผลิตรถยนต์ การผลิตรถจักรยานยนต์ การผลิตปูนซีเมนต์ ปิโตรเลียมและการผลิต โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ และ แผนพัฒนาประเทศ[25]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 25พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2544 มีทั้งหมด 8 เรื่อง

ซอฟต์แวร์พื้นฐานสำหรับสำนักงาน ระบบฐานข้อมูล วิวัฒนาการของไมโครคอมพิวเตอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ โครงข่ายประสาทเทียม อินเทอร์เน็ต การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ และ แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในต้นศตวรรษที่ 21[26]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 26พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2545 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

นิทานพื้นบ้านไทย ห้องสมุดเสียงแห่งแรกของไทย ชุมชน การใช้สื่อประสมส่งเสริมการศึกษา ส้ม เชื้อเพลิง ยานยนต์ และ สิ่งแวดล้อม[27]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 27พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2546 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

ลิเก การบริหารราชการแผ่นดิน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เทคนิคการผลิตไม้ผลนอกฤดู ไฮโดรพอนิกส์ พิษภัยของแอลกอฮอล์ ผู้สูงอายุ พลังงานนิวเคลียร์ และ การปฏิวัติทางพันธุกรรม[28]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 28พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2547 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

วัดไทย ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ตลาด ทุเรียน เทคโนโลยีชีวภาพทางการเษตร พิษภัยของบุหรี่ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ พลาสติกกับชีวิตในปัจจุบัน และ แผ่นดินไหว[29]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 29พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2548 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

ศิลปาชีพ พระพุทธรูป การผลิตทองรูปพรรณ อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย สวนพฤกษาศาสตร์ เงินตรา ปลาสวยงาม ธาลัสซีเมีย และ การดูแลสุขภาพที่บ้าน[30]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 30พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2548 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

ศิลปการเห่เรือ หอพระไตรปิฎก ปราสาทขอมในประเทศไทย กฎหมายตราสามดวง ไม้ดอกหอมของไทย กล้วย ปลากัด คลื่นสึนามิ และ วัสดุการแพทย์[31]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 31พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2549 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

ตู้พระธรรม วัดญวนในประเทศไทย วรรณคดีท้องถิ่น พรรคการเมืองไทย การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซากดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย ดาวหาง ระบบสุริยะ และ อัลไซเมอร์[32]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 32พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2550 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

ตาลปัตร พัดยศ และสมณศักดิ์ หุ่นกระบอก หนังสือโบราณของไทย สิทธิมนุษยชน เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ ชีวสนเทศศาสตร์ การยศาสตร์ นาโนเทคโนโลยี และ โรคออทิซึม[33]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 33พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2551 มีทั้งหมด 8 เรื่อง

สุนทรภู่ เพลงลูกทุ่ง คลอง วิวัฒนาการของมนุษย์ เซลล์เชื้อเพลิง เปลือกโลกและหิน อาหารกับโรคเรื้อรัง และ การแพทย์แผนไทย[34]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 34พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2552 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เพลงพื้นบ้าน เครื่องประดับ หอยในประเทศไทย บริการธนาคารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พายุและฝนในประเทศไทย โรคพาร์กินสัน และ โรคฉี่หนู[35]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 35พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2553 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

วัดจีน สงกรานต์ มวยไทย โรคพืชและการจัดการด้วยวิธีชีวภาพ มาตรวิทยา พยากรณ์อากาศ โรคข้ออักเสบรูมาทอย โรคเบาหวาน และ โรคสะเก็ดเงิน

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 36พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2554 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

มัสยิด ละครชาตรี เกวียน ทองคำ มะคาเดเมีย หุ่นยนต์ แอนิเมชัน โรคมาลาเรีย และ โรคไต[36]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 37พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2555 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

พระเจดีย์ หอศิลป์ ศิลปินแห่งชาติ ว่าว หนังสือพิมพ์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โรคเอสแอลอี และ โรคไข้หวัดใหญ่[37]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 38พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2556 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

ลายไทย-ลายกระหนก บายศรี การอุดมศึกษา แก้วมังกร มะพร้าวน้ำหอม การผลิตยารักษาโรค รังสี โรคกระดูกและข้อในเด็ก และ โรคพันธุกรรมในเด็ก[38]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 39พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2557 มีทั้งหมด 8 เรื่อง

การศึกษาของสงฆ์ เพลงกล่อมเด็ก เรือไทย ภูมิสถาปัตยกรรม สบู่ดำ การประปา โรคเลือดออกง่ายฮีโมฟิเลีย และ ศัลยกรรมตกแต่ง[39]

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 40พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2558 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

พิพิธภัณฑสถาน รางวัลซีไรต์ นกเงือกไทย เห็ด การโคลนนิ่งสัตว์ แร่เหล็ก การใช้เลเซอร์ในทางการแพทย์ ไข้ออกผื่น และ มะเร็งต่อมลูกหมาก

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 41พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2559 มีทั้งหมด 9 เรื่อง

ลอยกระทง ละครดึกดำบรรพ์ โนรา ภูมิลักษณ์เด่นในประเทศไทย ทะเลไทย ชา วัสดุวิศวกรรมทางการกีฬา เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ และ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด[40]

ฉบับเสริมการเรียนรู้

เล่มที่ 1พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2548 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

ไม้ดอกหอมของไทย ไม้ในวรรณคดีไทย และ สมุนไพร

เล่มที่ 2พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2548 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

อาหารไทย โภชนาการ และ การปลูกพืชไร้ดิน

เล่มที่ 3พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2548 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

ลำดับพระมหากษัตริย์ไทย สังคมและวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาชาวบ้าน

เล่มที่ 4พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2549 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

การช่างและหมู่บ้านช่าง การละเล่นพื้นเมือง นิทานพื้นบ้าน

เล่มที่ 5พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2549 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สัตว์ในระบบนิเวศป่าชายเลน สวนพฤกษศาสตร์

เล่มที่ 6พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2549 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

ศิลปาชีพ ตุ๊กตาไทย หัตถกรรมพื้นบ้าน

เล่มที่ 7พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2550 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

นก ผีเสื้อ ปลาสวยงาม

เล่มที่ 8พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2550 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

พระพุทธรูป ผ้าไทย การผลิตเครื่องทอง

เล่มที่ 9พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2550 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

แผ่นดินไหว สึนามิ บรรยากาศและการตรวจอากาศ

เล่มที่ 10พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2551 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

กล้วย ทุเรียน ส้ม

เล่มที่ 11พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2551 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

เครื่องถม เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องถ้วย เครื่องจักสาน

เล่มที่ 12พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2551 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

ช้าง ม้า วัวควาย

เล่มที่ 13พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2552 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

บัว เฟิร์น กล้วยไม้

เล่มที่ 14พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2553 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

อากาศยาน รถไฟ รถยนต์

เล่มที่ 15พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2553 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

ลิเก เพลงลูกทุ่ง เพลงพื้นบ้าน

เล่มที่ 16พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2553 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง

เล่มที่ 17พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2554 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

แมลง ผึ้ง แมลงกินได้

เล่มที่ 18พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2555 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

หอย ปลาหมึก กุ้ง

เล่มที่ 19พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2556 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

วัดไทย วัดญวน วัดจีน

เล่มที่ 20พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2557 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

หินเปลือกโลก ซากดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย อัญมณี

เล่มที่ 21พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. 2560 มีทั้งหมด 3 เรื่อง

สวนไทย สวนญี่ปุ่น สวนบาหลี

ฉบับกาญจนาภิเษก

หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก เป็นหนังสือสารานุกรม ที่จัดทำขึ้นเนื่องในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก พุทธศักราช 2539 โดยโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน พิมพ์และจำหน่ายในปี พ.ศ. 2542 ในราคา 500 บาท มีทั้งหมด 60 เรื่องโดยแบ่งเป็น 9 หมวด คือ

  • หมวดที่ 1 พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจสำคัญ
  • หมวดที่ 2 พระราชวงศ์
  • หมวดที่ 3 องค์กรและส่วนราชการ
  • หมวดที่ 4 มูลนิธิ ทุน รางวัล และโรงเรียน
  • หมวดที่ 5 พระราชสถานะและพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ
  • หมวดที่ 6 ราชธรรมและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศาสนา
  • หมวดที่ 7 พระราชพิธีในรัชกาลปัจจุบัน
  • หมวดที่ 8 พระบรมราชสัญลักษณ์และเรื่องราวเกี่ยวข้อง
  • หมวดที่ 9 เบ็ดเตล็ด

ฉบับเทิดพระเกียรติ

สารานุกรมไทย ฉบับเทิดพระเกียรติ "ธรรมิกราชาธิคุณ" เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณในธรรมิกราชาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ได้ทรงบำเพ็ญมาตลอดระยะเวลา 70 ปี โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯจึงได้จัดทำหนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเทิดพระเกียรติ โดยได้รวบรวมประมวลหลักธรรมซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงยึดถือและปฏิบัติอย่างครบถ้วน และในสารานุกรมฉบับนี้ยังประกอบด้วยพระราชกรณียกิจด้านการสืบสานวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี และพระราชพิธีในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่พระองค์มีพระราชประสงค์ให้ดำรงอยู่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ ตราบนานเท่านาน

ฉบับผู้สูงวัย

สารานุกรมไทย "ฉบับผู้สูงวัย" เป็นสารานุกรมไทยภายใต้โครงการสารานุกรมเพื่อเยาวชน โดย รวบรวมสาระความรู้เกี่ยวกับผู้สูงวัย

ใกล้เคียง

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน สารานุกรม สารานุกรมบริแทนนิกา สารานุกรมหย่งเล่อ สารานุกรมคาทอลิก สารานุกรม หรือพจนานุกรมอันเป็นระบบว่าด้วยวิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม และหัตถกรรม สารานุกรมประเทศจีน สารานุกรมภาษาไทย สารานุกรมดาวเคราะห์นอกระบบ สารานุกรม 30 ขบวนการนักสู้

แหล่งที่มา

WikiPedia: สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/other_sub.php?f... http://saranukromthai.or.th/ http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file... http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file... http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file... http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file... http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file... http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file... http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file... http://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file...