สัญลักษณ์ ของ เศษส่วนต่อเนื่อง

เราสามารถเขียนย่อเศษส่วนต่อเนื่องในรูป

x = a 0 + 1 a 1 + 1 a 2 + 1 a 3 {\displaystyle x=a_{0}+{\cfrac {1}{a_{1}+{\cfrac {1}{a_{2}+{\cfrac {1}{a_{3}}}}}}}}

ด้วยสัญลักษณ์

x = [ a 0 ; a 1 , a 2 , a 3 ] {\displaystyle x=[a_{0};a_{1},a_{2},a_{3}]\;}

หรือด้วยสัญลักษณ์ของพริงส์ไฮม์

x = a 0 + 1 ∣ ∣ a 1 + 1 ∣ ∣ a 2 + 1 ∣ ∣ a 3 {\displaystyle x=a_{0}+{\frac {1\mid }{\mid a_{1}}}+{\frac {1\mid }{\mid a_{2}}}+{\frac {1\mid }{\mid a_{3}}}}

หรือ

x = a 0 + 1 a 1 + 1 a 2 + 1 a 3 + {\displaystyle x=a_{0}+{1 \over a_{1}+}{1 \over a_{2}+}{1 \over a_{3}+}}

(สัญลักษณ์ข้างบนนี้ไม่ค่อยเป็นที่นิยมใช้เท่าใดนัก) หรือ

x = ⟨ a 0 ; a 1 , a 2 , a 3 ⟩ {\displaystyle x=\left\langle a_{0};a_{1},a_{2},a_{3}\right\rangle \;}

โดยอาจใช้จุลภาคแทนเซมิโคลอนก็ได้

นอกจากนี้เรายังสามารถนิยม เศษส่วนต่อเนื่องอนันต์ (infinite continued fraction) เป็นลิมิต

[ a 0 ; a 1 , a 2 , a 3 , … ] = lim n → ∞ [ a 0 ; a 1 , a 2 , … , a n ] . {\displaystyle [a_{0};a_{1},a_{2},a_{3},\,\ldots ]=\lim _{n\to \infty }[a_{0};a_{1},a_{2},\,\ldots ,a_{n}].}

โดยลิมิตนี้สามารถหาค่าได้เสมอไม่ว่าจำนวนเต็ม a 1 {\displaystyle a_{1}} , a 2 {\displaystyle a_{2}} , a 3 {\displaystyle a_{3}} , ... จะมีค่าเท่าไหร่ก็ตาม