การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนในกรณีอุบัติเหตุ ของ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์

'อนุสัญญากรุงเวียนนาเรื่องการรับผิดทางแพ่งสำหรับความเสียหาย'ถูกนำมาใช้ในกรอบระหว่างประเทศสำหรับความรับผิดชอบด้านนิวเคลียร์[81]. อย่างไรก็ตาม รัฐต่างๆที่มีส่วนใหญ่ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของโลก, รวมทั้งสหรัฐอเมริกา, รัสเซีย, จีน, และญี่ปุ่นจะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของอนุสัญญาการรับผิดด้านนิวเคลียร์ระหว่างประเทศ.

ในสหรัฐอเมริกา ประกันสำหรับอุบัติเหตุนิวเคลียร์หรือรังสีจะครอบคลุม(สำหรับสิ่งอำนวยความสะดวกได้รับอนุญาตจนถึงปี 2025) โดย'พรบ.การคุ้มครองอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ Price-Anderson'.

ภายใต้'นโยบายพลังงานแห่งสหราชอาณาจักร'ผ่าน'พระราชบัญญัติการติดตั้งนิวเคลียร์'ปี 1965, ความรับผิดถูกควบคุมสำหรับความเสียหายด้านนิวเคลียร์ที่ผู้ได้รับอนุญาตดำเนินการด้านนิวเคลียร์ในสหราชอาณาจักรเป็นผู้รับผิดชอบ. พระราชบัญญัตินี้ต้องการการชดเชยที่จะต้องจ่ายสำหรับความเสียหายสูงถึงขีดจำกัดที่ £150 ล้าน โดยผู้ประกอบการต้องรับผิดเป็นเวลาสิบปีหลังจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น. ระหว่างสิบถึงสามสิบปีหลังจากนั้น รัฐบาลผูกพันกับข้อตกลงนี้. รัฐบาลยังต้องรับผิดสำหรับหนี้สินข้ามพรมแดนที่จำกัดเพิ่มเติม (ประมาณ£300 ล้าน) ภายใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ (อนุสัญญากรุงปารีสในการรับผิดของบุคคลที่สามในด้านพลังงานนิวเคลียร์และอนุสัญญาบรัสเซลส์เพิ่มเติมกับอนุสัญญากรุงปารีส)[82].

ใกล้เคียง

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง โรงไฟฟ้าพลังงานฟอสซิล โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหิน โรงไฟฟ้าบางปะกง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่สอง โรงไฟฟ้าศิลปะ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซาปอริฌเฌีย

แหล่งที่มา

WikiPedia: โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ http://213.198.118.156/info/inf29.htm http://www.uic.com.au/reactors.htm http://www.ceem.unsw.edu.au/content/userDocs/Nukes... http://www.foe.org.au/anti-nuclear/issues/nfc/powe... http://www.mapw.org.au/nuclear-reactors/rrr-index.... http://www.sckcen.be http://www.ae4rv.com/games/nuke.htm http://www.antaranews.com/en/news/76867/indonesia-... http://atomndt.com/en/ http://www.bloomberg.com/apps/news?pid=10000103&si...