การก่อการกำเริบในลาว

เวียดนาม
 เวียดนามเหนือ (ถึง พ.ศ. 2519)
 สหภาพโซเวียต (ถึง พ.ศ. 2521)องค์กรปลดปล่อยของชนกลุ่มน้อยในลาว
(พ.ศ. 2527–)
สหแนวร่วมเพื่อปลดปล่อยลาว(พ.ศ. 2523–)
รัฐบาลประชาธิปไตยราชอาณาจักรลาว (พ.ศ. 2525)เจ้าฟ้า (ถึง พ.ศ. 2527)
แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติลาว
แนวร่วมเอกราชสหลาว
กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติลาวเสรีประชาธิปไตย กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522 - 2526: เกี่ยวข้องโดยจำกัด)สนับสนุนโดย:
สาธารณรัฐประชาชนจีน (to 1988)
กัมพูชาประชาธิปไตย (ถึง พ.ศ. 2522)
เขมรแดง (พ.ศ. 2523 - 2524)
พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย (พ.ศ. 2524 - 2533)
ไทย (ฝ่ายขวา: จนถึงราว พ.ศ. 2528) (ม้ง: ถึง พ.ศ. 2533)
สหรัฐอเมริกา (ม้ง: พ.ศ. 2533)
แนวโฮม (สนับสนุน พ.ศ. 2524)[3][4]
รัฐบาลราชอาณาจักรลาวพลัดถิ่น
ชาวม้งอพยพหลายกลุ่มการก่อการกำเริบในลาว เป็นเหตุการณ์ความขัดแย้งของกองทัพประชาชนลาวกับสมาชิกกองทัพลับของชาวม้ง ซึ่งประกอบด้วยชาวม้งที่สหรัฐให้การสนับสนุนและกลุ่มต่อต้านคอมมิวนิสต์ในสงครามกลางเมืองลาว ในช่วง พ.ศ. 2523 กลุ่มกบฏนิยมเจ้ายังคงอยู่และมีกองโจรโจมตีเป็นครั้งคราว กลุ่มกบฏฝ่ายขวาที่มีต่างชาติสนับสนุนมีกิจกรรมต่อเนื่องมาจนถึงราว พ.ศ. 2533 ส่วนกลุ่มกบฏม้งเป็นกลุ่มที่ยังคงมีกิจกรรมยาวนานที่สุด โดยระยะเวลาเริ่มตั้งแต่สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง จนสิ้นสุดสงครามกลางเมืองลาว

การก่อการกำเริบในลาว

สถานะ
  • ม้งที่พยายามก่อรัฐประหารจัดการโดยชาวม้งอพยพในสหรัฐอเมริกาใน พ.ศ. 2550 ถูกทหารลาวปราบได้
  • ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างชาวลาวและชาวเวียดนามที่ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดในการเผชิญหน้าในดินแดนลาว
  • การต่อต้านในระดับพลเรือนยังมีอยู่
  • ชาวม้งที่อพยพเข้ามาในไทยถูกบังคับส่งตัวกลับ; ที่เหลืออพยพไปยังสหรัฐและ เฟรนช์เกียนา
  • แผนการก่อรัฐประหารในลาวที่ริเริ่มโดยชาวม้งในสหรัฐอเมริกายังไม่มีหลักฐานเพียงพอ[2]
วันที่สถานที่สถานะ
วันที่3 ธันวาคม พ.ศ. 2518–ปัจจุบัน[1] (กลุมกบฏทั้งสามกลุ่มถูกปราบใน พ.ศ. 2550)
สถานที่กลุ่มม้ง: ลาวภาคกลางและภาคเหนือ (พ.ศ. 2518–ปัจจุบัน)
กลุ่มนิยมเจ้า, กลุ่มฝ่ายขวา: ลาวภาคใต้ (พ.ศ. 2523 - 2533)
สถานะ
  • ม้งที่พยายามก่อรัฐประหารจัดการโดยชาวม้งอพยพในสหรัฐอเมริกาใน พ.ศ. 2550 ถูกทหารลาวปราบได้
  • ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างชาวลาวและชาวเวียดนามที่ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดในการเผชิญหน้าในดินแดนลาว
  • การต่อต้านในระดับพลเรือนยังมีอยู่
  • ชาวม้งที่อพยพเข้ามาในไทยถูกบังคับส่งตัวกลับ; ที่เหลืออพยพไปยังสหรัฐและ เฟรนช์เกียนา
  • แผนการก่อรัฐประหารในลาวที่ริเริ่มโดยชาวม้งในสหรัฐอเมริกายังไม่มีหลักฐานเพียงพอ[2]
สถานที่ กลุ่มม้ง: ลาวภาคกลางและภาคเหนือ (พ.ศ. 2518–ปัจจุบัน)
กลุ่มนิยมเจ้า, กลุ่มฝ่ายขวา: ลาวภาคใต้ (พ.ศ. 2523 - 2533)
วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2518–ปัจจุบัน[1] (กลุมกบฏทั้งสามกลุ่มถูกปราบใน พ.ศ. 2550)

ใกล้เคียง

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย การก่อการกำเริบ 8888 การก่อการร้าย การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศมาเลเซีย (ค.ศ. 1968–1989) การก่อการกำเริบในลาว การก่อการกำเริบวอร์ซอ การก่อสร้าง การก่อการกำเริบในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544 การก่อเทือกเขา การก่อการกำเริบควังจู

แหล่งที่มา

WikiPedia: การก่อการกำเริบในลาว http://www.globalpolitician.com/22937-laos http://books.google.com/books?id=NgDks1hUjhMC&pg=P... http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,5... http://www.hawaii.edu/powerkills/SOD.TAB15.1D.GIF http://web.archive.org/web/20070705214752/http://f... http://www.factfinding.org/main.html http://www.jstor.org/pss/2644329 http://rebeccasommer.org/documentaries/Hmong/index... http://www.sommerfilms.org/documentaries/Hmong/ind... http://www.worldpress.org/Asia/2641.cfm