ทฤษฎีเหตุผลที่ไม่อาศัยประสบการณ์ ของ การแปลการพินิจภายในผิด

ในผลงานวิจัยคลาสสิกของพวกเขา นิสเบ็ตต์และวิลสันเสนอว่า เรื่องกุที่เกิดจากการพินิจภายใน มาจากทฤษฎีเหตุผลที่ไม่ได้อาศัยประสบการณ์ (คือเป็นคำอธิบายที่ไม่ได้อาศัยประสบการณ์) ซึ่งพวกเขาเสนอแหล่งกำเนิดที่เป็นไปได้ 4 อย่าง คือ[8]

  • กฎที่ปรากฏอย่างชัดแจ้งในวัฒนธรรม (เช่น ให้หยุดเมื่อไฟจราจรเปลี่ยนเป็นสีแดง)
  • เหตุผลทางวัฒนธรรมที่ไม่ชัดแจ้ง (เช่นนักกีฬารับรองยี่ห้อ ๆ หนึ่งเพราะว่าได้รับจ้างให้ทำอย่างนั้น)
  • การสังเกตการณ์ที่มีเฉพาะตน ๆ ที่นำไปสู่การสร้างทฤษฎีความแปรปรวนร่วมเกี่ยว (เช่นถ้ามีความรู้สึกอย่างนี้ในเหตุการณ์นี้ ก็จะเป็นเพราะเหตุอย่างนี้)
  • ความคล้ายคลึงกันอะไรบางอย่างระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่เกิดขึ้น

นิสเบ็ตต์และวิลสันให้ข้อสังเกตว่า การให้เหตุผลโดยอาศัยเหตุเหล่านี้ ไม่แน่ว่าจะนำไปสู่ความคิดผิด ๆ แต่ว่า ความคิดผิด ๆ เกิดขึ้นเพราะว่า ไม่ได้ประยุกต์ใช้องค์เหล่านี้อย่างถูกต้องในคำอธิบายเหตุผล

ใกล้เคียง

การแปลสิ่งเร้าผิด การแปลการพินิจภายในผิด การแปลงหน่วยอุณหภูมิ การแปรผันทางพันธุกรรม การแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก การแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้ การแปลงฟูรีเย การแปลงพื้นที่เพื่อเปลี่ยนชนชั้น การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค การแปลงโคไซน์ไม่ต่อเนื่อง

แหล่งที่มา

WikiPedia: การแปลการพินิจภายในผิด http://www.rotman.utoronto.ca/facbios/file/Djikic,... http://www.familyanatomy.com/2009/11/04/people-alw... http://www.msnbc.msn.com/id/9616467/ http://www.newscientist.com/article/mg20227046.400... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://www.ic.arizona.edu/ic/psyc358/358-Lect_6.ht... http://isites.harvard.edu/fs/docs/icb.topic67047.f... http://www.wjh.harvard.edu/~wegner/pdfs/Pronin,%20... http://mitpress.mit.edu/catalog/item/default.asp?t...