ภาษาที่รองรับ ของ กูเกิล_แปลภาษา

รายชื่อภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่มีในกูเกิลแปลภาษา.[4]

  1. อาฟรีกานส์
  2. แอลเบเนีย
  3. อัมฮาริก
  4. อาหรับ
  5. อาร์มีเนีย
  6. อาเซอร์ไบจาน
  7. เบงกอล
  8. บาสก์
  9. เบลารุส
  10. เบงกอล
  11. บอสเนีย
  12. บัลแกเรีย
  13. พม่า
  14. กาตาลา
  15. เซบัวโน
  16. ชิเชวา
  17. จีนตัวย่อ
  18. จีนตัวเต็ม
  19. คอร์ซิกา
  20. โครเอเชีย
  21. เช็ก
  22. เดนมาร์ก
  23. ดัตช์
  24. อังกฤษ
  25. เอสเปรันโต
  26. เอสโตเนีย
  27. ฟิลิปีโน
  28. ฟินแลนด์
  29. ฝรั่งเศส
  30. กาลิเซีย
  31. จอร์เจีย
  32. เยอรมัน
  33. กรีก
  34. คุชราต
  35. ครีโอลเฮติ
  36. เฮาซา
  37. ฮาวาย
  38. ฮีบรู
  39. ฮินดี
  40. ม้ง
  41. ฮังการี
  42. ไอซ์แลนด์
  43. อิกโบ
  44. อินโดนีเซีย
  45. ไอริช
  46. อิตาลี
  47. ญี่ปุ่น
  48. ชวา
  49. กันนาดา
  50. คาซัค
  51. เขมร
  52. เกาหลี
  53. เคิร์ด (เคิร์ดเหนือ)
  54. คีร์กีซ
  55. ลาว
  56. ละติน
  57. ลัตเวีย
  58. ลิทัวเนีย
  59. ลักเซมเบิร์ก
  60. มาซิโดเนีย
  61. มาลากาซี
  62. มลายู
  63. มลยาฬัม
  64. มอลตา
  65. เมารี
  66. มราฐี
  67. มองโกเลีย
  68. เนปาล
  69. นอร์เวย์ (Bokmål)
  70. Nyanja
  71. ปาทาน
  72. เปอร์เซีย
  73. โปแลนด์
  74. โปรตุเกส
  75. ปัญจาบ
  76. โรมาเนีย
  77. รัสเซีย
  78. ซามัว
  79. Scots Gaelic
  80. เซอร์เบีย
  81. โชนา
  82. สินธี
  83. สิงหล
  84. สโลวัก
  85. สโลวีเนีย
  86. โซมาลี
  87. โซโธใต้
  88. สเปน
  89. ซุนดา
  90. สวาฮีลี
  91. สวีเดน
  92. ทาจิก
  93. ทมิฬ
  94. เตลูกู
  95. ไทย
  96. ตุรกี
  97. ยูเครน
  98. อูรดู
  99. อุซเบก
  100. เวียดนาม
  101. เวลส์
  102. ฟรีเชีย
  103. Xhosa
  104. ยิดดิช
  105. โยรูบา
  106. ซูลู
ประวัติ
  • ขั้นที่ 3
  • ขั้นที่ 4
    • อังกฤษ - จีน (ตัวย่อ) บีตา
    • อังกฤษ - ญี่ปุ่น บีตา
    • อังกฤษ - เกาหลี บีตา
    • จีน (ตัวย่อ) บีตา - อังกฤษ บีตา
    • ญี่ปุ่น - อังกฤษ บีตา
    • เกาหลี - อังกฤษ บีตา
  • ขั้นที่ 5
    • อังกฤษ - รัสเซีย บีตา
    • รัสเซีย - อังกฤษ บีตา
  • ขั้นที่ 6
    • อังกฤษ - อาหรับ บีตา
    • อาหรับ - อังกฤษ บีตา
  • ขั้นที่ 7 (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550)
    • อังกฤษ - จีน (ตัวเต็ม) บีตา
    • จีน (ตัวเต็ม) - อังกฤษ บีตา
    • จีน (ตัวเต็ม) - จีน (ตัวย่อ) บีตา
    • จีน (ตัวย่อ) - จีน (ตัวเต็ม) บีตา
  • ขั้นที่ 8 (ตุลาคม พ.ศ. 2550)
    • คู่ภาษาทั้งหมด 25 คู่ ใช้ระบบการแปลของกูเกิล
  • ขั้นที่ 9
    • อังกฤษ - ฮินดี บีตา
    • ฮินดี - อังกฤษ บีตา
  • ขั้นที่ 15 (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)
    • ระยะทดสอบสิ้นสุดลงแล้ว ผู้ใช้สามารถเลือกโหมดการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาจีน ญี่ปุ่น เกาหลี รัสเซีย ยูเครน เบลารุส บัลแกเรีย กรีก ฮินดี และไทยได้แล้ว สำหรับการแปลจากภาษาอาหรับ เปอร์เซียและฮินดี ผู้ใช้สามารถป้อนข้อความที่ถูกถอดเป็นอักษรโรมันได้ และอักษรโรมันที่ป้อนเข้าไปนี้จะถูกแปลงเป็นอักษรที่ถูกต้องสำหรับภาษาเหล่านี้ตามที่ผู้ใช้ได้กำหนดไว้ โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสามารถใช้ได้ในภาษาอังกฤษ อิตาลี ฝรั่งเศสและเยอรมัน
  • ขั้นที่ 16 (30 มกราคม พ.ศ. 2553)
    • เฮติ (สำหรับแผ่นดินไหวเฮติ)
  • ขั้นที่ 17 (เมษายน พ.ศ. 2553)
    • โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสามารถใช้ได้ในภาษาฮินดีและสเปนแล้ว
  • ขั้นที่ 18 (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2553)
    • โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสามารถใช้ได้ในภาษาแอฟริกานส์ อัลบาเนีย คะตะลัน จีนกลาง โครเอเชีย เช็ค เดนมาร์ก ดัตช์ ฟินแลนด์ กรีก ฮังการี ไอซ์แลนด์ อินโดนิเซีย ลัตเวีย มาซีโดเนีย นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมัน รัสเซีย เซอร์เบีย สโลวัก สวาฮิลี สวีเดน ตุรกี เวียดนามและเวลส์แล้ว (ใช้เทคโนโลยีของ eSpeak)[5]
  • ขั้นที่ 20 (มิถุนายน พ.ศ. 2553)
    • รองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาอาหรับ
  • ขั้นที่ 21 (กันยายน พ.ศ.​ 2553)
    • สามารถพิมพ์โดยแปลงอักษรโรมันเป็นอักษรที่แท้จริงสำหรับการพิมพ์ภาษาอาหรับ กรีก ฮินดี เปอร์เซีย รัสเซีย เซอร์เบียและอุรดูได้แล้ว
    • ละติน[6]
  • ขั้นที่ 22 (ธันวาคม พ.ศ. 2553)
    • หยุดรองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาอาหรับ
    • เพิ่มตัวตรวจสอบการสะกดแล้ว
    • กูเกิลได้แทนที่โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสำหรับบางภาษา โดยเปลี่ยนจากเทคโนโลยีของ eSpeak ที่ให้เสียงคล้ายหุ่นยนต์ มาเป็นแบบเสียงธรรมชาติจากเจ้าของภาษา ที่ใช้เทคโนโลยีของ [[SVOX][7] (ภาษาจีน เช็ก เดนมาร์ก ดัตช์ ฟินแลนด์ กรีก ฮังการี นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส รัสเซีย สวีเดน ตุรกี) รวมถึงภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี และสเปนด้วย ส่วนภาษาละตินจะใช้โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดตัวเดียวกับที่ใช้สำหรับภาษาอิตาลี
    • การสังเคราะห์เสียงพูดสามารถใช้ในภาษาอาหรับ ญี่ปุ่น และเกาหลีได้แล้ว
  • ขั้นที่ 23 (มกราคม พ.ศ. 2554)
    • สามารถดูตัวเลือกของคำแปลอื่น ๆ สำหรับคำหนึ่งได้แล้ว
  • ขั้นที่ 24 (มิถุนายน พ.ศ. 2554)
  • ขั้นที่ 25 (กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
    • เพิ่มตัวเลือกสำหรับให้คะแนนคำแปล
  • ขั้นที่ 26 (มกราคม พ.ศ. 2555)
    • โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดสำหรับภาษาดัตช์เปลี่ยนจากแบบผู้ชายเป็นแบบผู้หญิงแล้ว
    • เปลี่ยนเสียงสังเคราะห์ในภาษาสโลวัก จากเดิมที่ใช้เทคโนโลยีของ eSpeak มาเป็นเสียงสังเคราะห์ที่ชื่อว่า Elena ที่ใช้เทคโนโลยีของ SVOX แทน
    • รองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษายิดดิช
  • ขั้นที่ 27 (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555)
  • ขั้นที่ 28 (กันยายน พ.ศ. 2555)
  • ขั้นที่ 29 (ตุลาคม พ.ศ. 2555)
    • รองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาลาว (อยู่ในระยะทดสอบ)[10][11]
  • ขั้นที่ 30 (ตุลาคม พ.ศ.​ 2555)
    • ใช้โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดแบบใหม่สำหรับภาษาอังกฤษ
  • ขั้นที่ 31 (พฤศจิกายน พ.ศ. 2555)
    • ใช้โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดแบบใหม่สำหรับภาษาฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมัน
  • ขั้นที่ 32 (มีนาคม พ.ศ.​ 2556)
    • เพิ่มคุณลักษณะใหม่ที่ชื่อว่า Phrasebook
  • ขั้นที่ 33 (มีนาคม พ.ศ. 2556)
  • ขั้นที่ 35 (พฤษภาคม พ.ศ. 2556)
    • 16 ภาษาเพิ่มเติมสำหรับป้อนข้อมูลโดยใช้กล่องส่องข้อความได้แล้ว: บัลแกเรีย คะตะลัน โครเอเชีย เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฮังการี อินโดนีเซีย ไอซ์แลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย นอร์เวย์ โรมาเนีย สโลวัก และสวีเดน
  • ขั้นที่ 37 (มิถุนายน พ.ศ. 2557)
    • เพิ่มการรองรับการบอกความหมายของคำที่ผู้ใช้ป้อน
  • ขั้นที่ 39 (ตุลาคม พ.ศ.​ 2558)
    • กลับมารองรับการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาอาหรับอีกครั้ง

แหล่งที่มา

WikiPedia: กูเกิล_แปลภาษา http://www.3t-transl.com/content/13806/4-%E0%B8%AA... http://awamiawaz.com/%D8%B3%D9%86%DA%8C%D9%8A-104-... http://googleblog.blogspot.com/2010/05/giving-voic... http://googleblog.blogspot.com/2010/09/veni-vidi-v... http://googleresearch.blogspot.com/2006/04/statist... http://googlesystem.blogspot.com/2007/10/google-tr... http://googletranslate.blogspot.com/2011/06/google... http://googletranslate.blogspot.com/2012/02/tutmon... http://googletranslate.blogspot.com/2012/09/transl... http://www.brecorder.com/arts-a-leisure/lifestyle/...