การคิดและการเห็นตามความปรารถนาแบบผกผัน ของ ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล

แม้ว่าเราจะปกติปรับเหตุผล หรือการรับรู้สิ่งแวดล้อมของเรา ให้เข้ากับความปรารถนา ในบางกรณี การเห็นหรือการคิดตามความปรารถนา อาจจะผันกลับซึ่งเกิดขึ้นเมื่อมีภัยเพิ่มขึ้น[3] มีการใช้ภาพลวงตาเอ็บบิงก์เฮาส์ (เป็นภาพลวงตาที่ให้เห็นวงกลมใหญ่/เล็กเกินความจริง) เพื่อวัดการเห็นตามความปรารถนาผกผัน (reverse wishful seeing) ที่พบว่า ผู้ร่วมการทดลองประเมินวงกลมเป้าหมายเชิงลบ (คือมีรูปที่ให้เกิดอารมณ์เชิงลบในวงกลม) ที่ล้อมด้วยวงกลมที่มีรูปเชิงบวกหรือไม่มีรูป ตรงความจริงมากกว่ารูปเป้ามายเชิงบวกหรือเชิงกลาง ๆ[33]

นอกจากนั้นแล้ว ความรู้สึกกลัวยังทำวัตถุที่กลัวให้ดูเหมือนใกล้กว่า โดยมีนัยเดียวกับงานศึกษาที่แสดงว่า วัตถุที่น่าปรารถนาดูเหมือนใกล้กว่า[34]แต่ว่า บางคนอาจจะประสบกับการคิดหรือการเห็นตามความปรารถนาน้อยกว่า ขึ้นอยู่กับอารมณ์และบุคลิกของตน[3]

ใกล้เคียง

ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล ความปลอดภัยของไฮโดรเจน ความปั่นป่วน ความประมาทเลินเล่อ ความประทับใจของพระอาทิตย์ขึ้น ความปวด ความปลอดภัยของสมาร์ทโฟน ความปราถนาทางเพศกับวัตถุ ความประสงค์สุดท้ายและพินัยกรรมของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ความปลอดภัย

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล http://ejournals.ebsco.com/direct.asp?ArticleID=41... http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11817755 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/1451413 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17014288 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17201572 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17410379 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17564203 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17960136 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18045917