ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล

ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล[1] หรือ การคิดตามความปรารถนา(อังกฤษ: Wishful thinking)เป็นการตั้งความเชื่อและการตัดสินใจ ตามสิ่งที่เราชอบใจ แทนที่จะตามหลักฐาน เหตุผล หรือความเป็นจริงเป็นผลของการแก้ความขัดแย้งกันระหว่างความเชื่อและความต้องการ[2] งานศึกษาต่าง ๆ แสดงผลเหมือน ๆ กันว่า เมื่อตัวแปรอื่น ๆ เท่ากัน เราจะพยากรณ์ผลที่ดีน่าชอบใจว่า มีโอกาสเกิดขึ้นมากกว่าผลร้าย แต่ก็มีงานวิจัยในปี ค.ศ. 2013 ที่แสดงว่า ในบางสถานการณ์เช่นเมื่อภัยสูงขึ้น ปรากฏการณ์ตรงกันข้ามจะเกิดขึ้น[3]มีนักจิตวิทยาที่เชื่อว่า ความคิดเชิงบวกจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเชิงบวก และดังนั้น จะทำให้เกิดผลที่ดีกว่า ซึ่งเรียกว่า "Pygmalion effect"[ต้องการอ้างอิง]มีนักข่าวที่พรรณนาการคิดตามความปรารถนาไว้ว่า

ใกล้เคียง

ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล ความปลอดภัยของไฮโดรเจน ความปั่นป่วน ความประมาทเลินเล่อ ความประทับใจของพระอาทิตย์ขึ้น ความปวด ความปลอดภัยของสมาร์ทโฟน ความปราถนาทางเพศกับวัตถุ ความประสงค์สุดท้ายและพินัยกรรมของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ความปลอดภัย

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล http://ejournals.ebsco.com/direct.asp?ArticleID=41... http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11817755 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/1451413 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17014288 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17201572 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17410379 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17564203 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17960136 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18045917