การใช้ประโยชน์ ของ ถั่วปากอ้า

ถั่วปากอ้าใช้รับประทานเป็นอาหารขบเคี้ยว

ถั่วปากอ้ารับประทานได้ตั้งแต่เป็นฝักอ่อน โดยนำมานึ่งหรือต้มใส่เกลือเล็กน้อย ฝักแก่นนำไปลวกน้ำเดือด ปอกเปลือก แกะเมล็ดข้างในไปต้มหรือนึ่งให้สุก ใช้ทำอาหารได้หลายแบบ เช่น ซุป สลัด ผัดกับเนื้อสัตว์ หรืออบรับประทานเป็นของว่างก็ได้[2]

ถั่วปากอ้าเมล็ดแก่ ดิบ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน1,425 kJ (341 kcal)
58.29 g
ใยอาหาร25 g
1.53 g
26.12 g
วิตามิน
ไทอามีน (บี1)
(48%)
0.555 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(28%)
0.333 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(19%)
2.832 มก.
วิตามินบี6
(28%)
0.366 มก.
โฟเลต (บี9)
(106%)
423 μg
วิตามินซี
(2%)
1.4 มก.
วิตามินเค
(9%)
9 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(10%)
103 มก.
เหล็ก
(52%)
6.7 มก.
แมกนีเซียม
(54%)
192 มก.
แมงกานีส
(77%)
1.626 มก.
ฟอสฟอรัส
(60%)
421 มก.
โพแทสเซียม
(23%)
1062 มก.
โซเดียม
(1%)
13 มก.
สังกะสี
(33%)
3.14 มก.

ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐอเมริกาสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA Nutrient Database

แหล่งที่มา

WikiPedia: ถั่วปากอ้า http://archive.southcoasttoday.com/daily/05-96/05-... http://www.hort.purdue.edu/newcrop/afcm/fababean.h... http://www.hort.purdue.edu/newcrop/duke_energy/Vic... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/9225606 http://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list http://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list?qlookup=16... http://www.scienzavegetariana.it/nutrizione/favabe... //doi.org/10.1055%2Fs-2006-957661 //dx.doi.org/10.1002%2Fjsfa.2740320808 //dx.doi.org/10.1002%2Fpca.731