อ้างอิง ของ พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

  1. Cambodia and the Khmer People's Revolutionary Party (KPRP), Appendix B - Major Political and Military Organizations
  2. เขียว สัมพัน. ประวัติศาสตร์กัมพูชากับจุดยืนที่ผ่านมาของข้าพเจ้า. อภิญญา ตะวันออก แปล. กทม.มติชน .2549.
  3. ศรีประภา เพชรมีศรี. “การเมืองการปกครองของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม, ” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมืองการปกครองหลังสิ้นสุดสงครามเย็น, สีดา สอนศรี บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544.) หน้า 337
  4. การเปลี่ยนชื่อจาก พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนาม เป็น พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน นั้น นรนิติ เศรษฐบุตร ได้ให้เหตุผลว่า องค์การคอมมิวนิสต์สากล (Comintern) เห็นว่าถ้าใช้ชื่อพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามแล้ว แนวร่วมคอมมิวนิสต์ในกัมพูชาและลาวจะตีตนออกห่างได้ ดู นรนิติ เศรษฐบุตร. อุดมการณ์หรือผลประโยชน์ : การขัดกันระหว่างรัสเซียกับจีน และญวนกับเขมร (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แพร่พิทยา.) หน้า 13
  5. เดวิด แชนด์เลอร์, พรรณงาม เง่าธรรมสาร สดใส ขันติวรพงศ์ วงเดือน นาราสัจจ์ แปล. ประวัติศาสตร์กัมพูชา, พรรณงาม เง่าธรรมสาร บรรณาธิการแปล (กรุงเทพฯ : มูลนิธิตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2543.) หน้า 284
  6. ธีระ นุชเปี่ยม. "การเมืองในกัมพูชา, " เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : การเมืองการปกครองหลังสิ้นสุดสงครามเย็น, สีดา สอนศรี บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544.) หน้า 379, 381 – 382
  7. ผลการเลือกตั้งสภาใน พ.ศ. 2498 พรรคสังคมราษฎร์นิยมได้รับคะแนนร้อยละ 83 และที่นั่งในสมัชชาแห่งชาติทุกที่นั่ง รองลงมา คือ พรรคประชาธิปไตย ได้รับคะแนนเสียงร้อยละ 13 และอันดับสุดท้ายคือพรรคประชาชนที่ได้กล่าวไปแล้วในเนื้อความ ดู ธีระ นุชเปี่ยม. เพิ่งอ้าง. หน้า 384
  8. เดวิด แชนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. หน้า 300
  9. ชื่อ “เขมรแดง” มีที่มาจากการที่เจ้าสีหนุได้แบ่งกัมพูชาเป็นสี 3 สี เพื่อเป็นตัวแทนของกลุ่มการเมือง 3 กลุ่ม ได้แก่ “เขมรแดง” เป็นตัวแทนกลุ่มที่มีความคิดเห็นรุนแรง “เขมรน้ำเงิน” เป็นตัวแทนของกลุ่มอนุรักษนิยม ซึ่งหมายถึงตัวเจ้าสีหนุเอง และ “เขมรขาว” เป็นตัวแทนของกลุ่มที่ไม่ยอมรับกลุ่มใดเลย ดู เดวิด แชนด์เลอร์. เพิ่งอ้าง. หน้า 309
  10. สาเหตุที่ทำให้เจ้าสีหนุเลือกที่จะดำเนินนโยบายแบบเป็นกลาง เป็นผลมาจากพระองค์ผิดหวังกับท่าทีของกลุ่มประเทศตะวันตกที่มีต่อกัมพูชา โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาที่เอาใจใส่แต่ไทยและเวียดนามใต้ โดยไม่สนใจผลประโยชน์ของกัมพูชา และไม่เห็นด้วยกับเหตุผลที่พระองค์ต้องการเอกราชกลับคืนสู่กัมพูชา ในขณะเดียวกัน จีนกับสหภาพโซเวียต ซึ่งเป็นประเทศคอมมิวนิสต์ กลับแสดงท่าทีที่เป็นมิตรและให้กำลังใจแก่พระองค์มากกว่า จึงทำให้พระองค์หันมาสนับสนุนนโยบายเป็นกลางและการอยู่ร่วมกันโดยสันติ และคิดว่ากัมพูชาควรถ่วงดุลอำนาจกับอเมริกาโดยเป็นมิตรกับฝ่ายตรงข้ามของอเมริกาแทน ดู เสาวรส ณ บางช้าง. “เขมร : นโรดมสีหนุ วีรชนแห่งเขมร, ” วีรชนเอเชีย : Asian Heroes, สุชาติ สวัสดิ์ศรี ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : โครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค, 2545.) หน้า 52 – 53
  11. The party statutes, published in mid-1970s, claims that the name change was approved by the party congress in 1971.

ใกล้เคียง

พรรคความหวังใหม่ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย พรรคครูไทยเพื่อประชาชน พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา พรรคคอมมิวนิสต์จีน พรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่น พรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า) พรรคคอมมิวนิสต์มลายา พรรคคอมมิวนิสต์ฮังการี