เชิงอรรถและอ้างอิง ของ ระบบการเห็น

  1. 1 2 "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ visual ว่า "-การเห็น" หรือ "-สายตา"
  2. ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ (พ.ศ. 2556). ประสาทกายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน (Basic Neuroanatomy). กทมฯ: ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์. p. 247. ISBN 978-616-335-105-0. Check date values in: |year= (help)
  3. entrainment เป็นคำที่ใช้ในศาสตร์ chronobiology หมายถึงกระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อปรากฏการณ์ทางสรีระภาพหรือพฤติกรรมมีความเป็นไปจับคู่กับคาบและเฟสของจังหวะการแกว่งไกวของสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ตัวอย่างที่ชัดเจนอย่างหนึ่งก็คือ จังหวะรอบวัน (circadian rhythms) ที่เป็นไปตามวงจรกลางวัน-กลางคืน ซึ่งกำหนดโดยการหมุนรอบตัวของโลก
  4. Bellingham J, Wilkie SE, Morris AG, Bowmaker JK, Hunt DM (1997). "Characterisation of the ultraviolet-sensitive opsin gene in the honey bee, Apis mellifera". Eur. J. Biochem. 243 (3): 775–81. doi:10.1111/j.1432-1033.1997.00775.x. PMID 9057845. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  5. Safer AB, Grace MS (2004). "Infrared imaging in vipers: differential responses of crotaline and viperine snakes to paired thermal targets". Behav. Brain Res. 154 (1): 55–61. doi:10.1016/j.bbr.2004.01.020. PMID 15302110. Unknown parameter |month= ignored (help)
  6. David Fleshler(10-15-2012) South Florida Sun-Sentinel,
  7. 1 2 Gross CG (1994). "How inferior temporal cortex became a visual area". Cereb. Cortex. 4 (5): 455–69. doi:10.1093/cercor/4.5.455. PMID 7833649.
  8. 1 2 3 Schiller PH (1986). "The central visual system". Vision Res. 26 (9): 1351–86. doi:10.1016/0042-6989(86) 90162-8 Check |doi= value (help). ISSN 0042-6989. PMID 3303663.
  9. 1 2 3 4 เซลล์รับแสง (photoreceptor cell) เป็นเซลล์ประสาทมีกิจเฉพาะชนิดหนึ่งอยู่ในเรตินา มีสมรรถภาพในการถ่ายโอนแสง (phototransduction) หน้าที่สำคัญทางชีวภาพของเซลล์รับแสงก็คือ การเปลี่ยนแสงเป็นสัญญาณที่เป็นตัวกระตุ้นของระบบชีวภาพ
  10. 1 2 retinal ganglion cell (RGC) เป็นนิวรอนประเภทหนึ่งอยู่ใกล้ผิวภายใน (ในชั้น ganglion cell) ของเรตินา เป็นนิวรอนที่รับข้อมูลทางตาจากเซลล์รับแสงโดยผ่านนิวรอนอีก 2 ประเภทคือ เซลล์สองขั้ว (bipolar cell) และ amacrine cell. RGC ส่งข้อมูลทางตาทั้งที่ทำให้เกิดการเห็นและไม่เกิดการเห็นจากเรตินาไปยังส่วนต่าง ๆ ของทาลามัส ไฮโปทาลามัส และสมองส่วนกลาง
  11. Güler, A.D. (2008). "Melanopsin cells are the principal conduits for rod/cone input to non-image forming vision" (Abstract). Nature. 453 (7191): 102–5. doi:10.1038/nature06829. PMC 2871301. PMID 18432195. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Unknown parameter |month= ignored (help)
  12. การถ่ายโอนสัญญาณ (signal transduction) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลที่ส่งสัญญาณจากภายนอกเซลล์ก่อให้เกิดการทำงานในหน่วยรับความรู้สึกที่อยู่ที่ผิวของเซลล์ (cell surface receptor) แล้วหน่วยรับความรู้สึกนั้น ก็จะทำให้โมเลกุลภายในเซลล์เปลี่ยนแปลงไปซึ่งก่อให้เกิดปฏิกิริยาภายในเซลล์
  13. Koch, Christof (2004). The Quest for Consciousness: A Neurobiological Approach. Englewood, Colorado, USA: Roberts & Company Publishers. p. 51. ISBN 0-9747077-0-8.
  14. Jessell, Thomas M.; Kandel, Eric R.; Schwartz, James H. (2000). Principles of neural science. New York: McGraw-Hill. pp. 510–516. ISBN 0-8385-7701-6. OCLC 42073108.CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  15. การรวมสัญญาณ จากเซลล์รับแสงไปยังเซลล์สองขั้วก็คือ การที่เซลล์รับแสงมีจำนวนมากกว่าส่งสัญญาณไปยังเซลล์สองขั้วที่มีจำนวนน้อยกว่า การแผ่สัญญาณ ก็นัยตรงกันข้าม
  16. 1 2 retinal เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า retinaldehyde หรือ vitamin A aldehyde เป็นรูปแบบในหลายรูปแบบของวิตามินเอซึ่งในแต่ละสปีชีส์จะมีจำนวนรูปแบบไม่เท่ากัน เป็น polyene chromophore (คือส่วนกำเนิดสีมีพันธะแบบคู่เป็นจำนวนมาก) รวมอยู่ในโปรตีน opsin เป็นโครงสร้างเคมีพื้นฐานในการเห็นของสัตว์
  17. 1 2 Saladin, Kenneth D. Anatomy & Physiology: The Unity of Form and Function. 5th ed. New York: McGraw-Hill, 2010.
  18. http://webvision.med.utah.edu/GCPHYS1.HTM
  19. Calculating the speed of sight – being-human – 28 July 2006 – New Scientist
  20. 1 2 Zaidi FH, Hull JT, Peirson SN; และคณะ (2007). "Short-wavelength light sensitivity of circadian, pupillary, and visual awareness in humans lacking an outer retina". Curr. Biol. 17 (24): 2122–8. doi:10.1016/j.cub.2007.11.034. PMC 2151130. PMID 18082405. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Explicit use of et al. (link) CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  21. Saccade หมายถึงการเคลื่อนไหวอย่างเร็ว ๆ ของตา ของศีรษะ หรือของส่วนอื่นในร่างกาย หรือของอุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง และยังหมายถึงการเปลี่ยนความถี่อย่างรวดเร็วของสัญญาณส่ง หรือความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอย่างอื่น ๆ ได้อีกด้วย Saccades (พหูพจน์) เป็นการเคลื่อนไหวตาทั้งสองข้างไปยังทิศทางเดียวกันอย่างรวดเร็ว
  22. 1 2 Sundsten, John W.; Nolte, John (2001). The human brain: an introduction to its functional anatomy. St. Louis: Mosby. pp. 410–447. ISBN 0-323-01320-1. OCLC 47892833.CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  23. จังหวะรอบวัน (circadian rhythm) คือจังหวะของระบบชีวภาพที่เป็นไปตามจังหวะ 24 ชั่วโมง เช่นสัตว์หากินกลางวันนอนตอนกลางคืน เป็นจังหวะที่มีอยู่ในพืช สัตว์ เชื้อรา และ แบคทีเรียบางประเภท
  24. Lucas RJ, Hattar S, Takao M, Berson DM, Foster RG, Yau KW (2003). "Diminished pupillary light reflex at high irradiances in melanopsin-knockout mice". Science. 299 (5604): 245–7. doi:10.1126/science.1077293. PMID 12522249. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  25. Turner, Howard R. (1997 chapter=Optics). Science in medieval Islam: an illustrated introduction. Austin: University of Texas Press. p. 197. ISBN 0-292-78149-0. OCLC 440896281. Check date values in: |year= (help)CS1 maint: Missing pipe (link)
  26. Vesalius 1543
  27. ให้สังเกตว่า ลานสายตาด้านขวานั้นมาจากด้านซ้ายของเรตินาในตาทั้งสอง และลานสายด้านซ้ายมาจากด้านขวาของเรตินา เพราะว่า ภาพที่ฉายเข้าไปในนัยน์ตาแล้วกระทบกับเรตินานั้น เป็นภาพกลับด้าน
  28. 1 2 3 4 5 6 Koch, Christof (2004). The Quest for Consciousness: A Neurobiological Approach. Englewood, Colorado, USA: Roberts & Company Publishers. pp. 59–61. ISBN 0-9747077-0-8.
  29. Koch, C. (1987). "The action of the corticofugal pathway on sensory thalamic nuclei: A hypothesis". Neurosci. 23: 399–406.
  30. Mumford, D. (1991). "On the computational architecture of the neocortex. I. The role of the thalamo-cortical loop". Biol. Cybernetics. 65: 135–145.
  31. Przybyszewski, A.W.; Gaska, J.P.; Foote, W.; Pllen, D.A. (2000). "Striate cortex increases contrast gain of macaque LGN neurons". Visual Neurosci. 17: 485–494.CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  32. 1 2 3 Jessell, Thomas M.; Kandel, Eric R.; Schwartz, James H. (2000). Principles of neural science. New York: McGraw-Hill. pp. 533–540. ISBN 0-8385-7701-6. OCLC 42073108.CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  33. Kandel2000 บอกแค่ชั้น 4Cα ไม่ได้บอกชั้น 6
  34. เป็นตัวแทนก็คือ เมื่อเซลล์นั้นได้รับข้อมูลที่ตนเป็นตัวแทน ก็จะยิงสัญญาณส่งไปยังเซลล์อื่น ๆ บอกว่า มีข้อมูลนี้อยู่
  35. Mishkin M, Ungerleider LG. (1982). "Contribution of striate inputs to the visuospatial functions of parieto-preoccipital cortex in monkeys". Behav. Brain Res. 6 (1): 57–77. doi:10.1016/0166-4328(82) 90081-X Check |doi= value (help). PMID 7126325.
  36. Farivar R. (2009). "Dorsal-ventral integration in object recognition". Brain Res. Rev. 61 (2): 144–53. doi:10.1016/j.brainresrev.2009.05.006. PMID 19481571.
  37. Principal components analysis (การวิเคราะห์เชิงส่วนประกอบหลัก ???) เป็นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่ใช้วิธีการแปลเชิงตั้งฉาก (orthogonal transformation) ในการแปลงเซตข้อมูลที่อาจจะมีตัวแปรที่มีสหสัมพันธ์ (correlation) ไปเป็นเซตข้อมูลที่มีตัวแปรที่ไม่มีสหสัมพันธ์เชิงเส้น (linear correlation) ตัวแปรที่ไม่มีสหสัมพันธ์เชิงเส้นนั้นเรียกว่า Principle components (ส่วนประกอบหลัก)
  38. Alexander Huth, Shiniji Nishimoto, An T. Vu, and Jack Gallant, (December 19, 2012), "A Continuous Semantic Space Describes the Representation of Thousands of Object and Action Categories Across the Human Brain", Neuron''
  39. ระบบ vestibular system ซึ่งช่วยในการทรงตัว (balance) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนมาก และช่วยในการรับรู้ทิศทางของร่างกายในปริภูมิ เป็นระบบรับความรู้สึกที่ให้ข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและความรู้สึกเพื่อการทรงตัว ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมาก ระบบนี้ประกอบด้วยหูชั้นในรูปหอยโข่ง (cochlea) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบการได้ยิน และห้องหูชั้นใน (labyrinth of the inner ear) อยู่ที่ vestibulum ของหูชั้นใน
  40. Hansson EE, Beckman A, Håkansson A (2010). "Effect of vision, proprioception, and the position of the vestibular organ on postural sway". Acta Otolaryngol. 130 (12): 1358–63. doi:10.3109/00016489.2010.498024. PMID 20632903. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  41. Wade MG, Jones G (1997). "The role of vision and spatial orientation in the maintenance of posture". Phys Ther. 77 (6): 619–28. PMID 9184687. Unknown parameter |month= ignored (help)
  42. Teasdale N, Stelmach GE, Breunig A (1991). "Postural sway characteristics of the elderly under normal and altered visual and support surface conditions". J Gerontol. 46 (6): B238–44. doi:10.1093/geronj/46.6.B238. PMID 1940075. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  43. 1 2 Shabana N, Cornilleau-Pérès V, Droulez J, Goh JC, Lee GS, Chew PT (2005). "Postural stability in primary open angle glaucoma". Clin. Experiment. Ophthalmol. 33 (3): 264–73. doi:10.1111/j.1442-9071.2005.01003.x. PMID 15932530. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  44. 1 2 Schwartz S, Segal O, Barkana Y, Schwesig R, Avni I, Morad Y (2005). "The effect of cataract surgery on postural control". Invest. Ophthalmol. Vis. Sci. 46 (3): 920–4. doi:10.1167/iovs.04-0543. PMID 15728548. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  45. Wade LR, Weimar WH, Davis J (2004). "Effect of personal protective eyewear on postural stability". Ergonomics. 47 (15): 1614–23. doi:10.1080/00140130410001724246. PMID 15545235. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  46. Barela JA, Sanches M, Lopes AG, Razuk M, Moraes R (2011). "Use of monocular and binocular visual cues for postural control in children". J Vis. 11 (12): 10. doi:10.1167/11.12.10. PMID 22004694.CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  47. ตาบอดครึ่งซีก (hemianopsia) เป็นการสูญเสียลานสายตาที่เป็นไปตามแนวกลางด้านตั้ง (vertical midline) ในตา โรคโดยปกติเกิดขึ้นที่ทั้งสองตา แต่มีบางกรณีเกิดที่ตาข้างเดียว กล่าวอีกอย่างหนึ่ง ก็คือ มีการสูญเสียการเห็นส่วนของลานสายตาด้านซ้ายหรือด้านขวา ที่มีเหตุมาจากตาทั้งสองข้างหรือข้างเดียว ส่วน homonymous hemianopsia (ตาบอดครึ่งซีกแบบ homonymous) เป็นการการสูญเสียลานสายตาด้านเดียวกัน ในตาทั้งสองข้าง กล่าวอีกอย่างหนึ่ง คือ homonymous hemianopsia เป็นประเภทหนึ่งของโรคตาบอดครึ่งซีก ที่เกิดขึ้นที่ตาทั้งสองข้าง
  48. Pollock. A; Hazelton. C, Henderson. C.A; Angilley. J; Dhillon. B; Langhorne. P; Livingstone. K; Munro. F.A; Orr. H; Rowe. F; Shahani. U, "Vision", International Journal of Stroke”, date

ใกล้เคียง

ระบบการทรงตัว ระบบการได้ยิน ระบบการเห็น ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก ระบบการลงคะแนน ระบบการนำไฟฟ้าหัวใจ ระบบกึ่งประธานาธิบดี ระบบการลงคะแนนแบบคะแนนรวม ระบบการลงคะแนนแบบผสม ระบบการออกเสียงภาษาบาลี

แหล่งที่มา

WikiPedia: ระบบการเห็น http://bf4dv7zn3u.search.serialssolutions.com.myac... http://www.newscientist.com/article/dn6861-swordfi... http://www.newscientist.com/article/dn9633-calcula... http://www.physorg.com/news115919015.html http://www.sun-sentinel.com/news/local/breakingnew... http://www.visionscience.com/ http://newscenter.berkeley.edu/2012/12/19/semantic... http://webvision.med.utah.edu/ http://webvision.med.utah.edu/GCPHYS1.HTM http://webvision.med.utah.edu/VisualCortex.html