สงครามเลบานอน_พ.ศ._2549
สงครามเลบานอน_พ.ศ._2549

สงครามเลบานอน_พ.ศ._2549

ขบวนการอมัล[7]
LCP[8]
PFLP-GC[9] Amir Peretz
Dan Halutz
Moshe Kaplinsky
Udi Adam
Eliezer Shkedi
David Ben Ba'ashat(เลขาธิการฮิซบุลลอฮ์)
Imad Mughniyeh
Nabih Berri
Khaled Hadadi
Ahmed Jibrilถูกฆ่า: 121
บาดเจ็บ: 1,244 [15]
ประชาชนชาวอิสราเอล:
ถูกฆ่า: 44 [16][17]
บาดเจ็บ:1,384 [18]ชาวต่างชาติ:
ตาย 2 [19]ถูกฆ่า: 250 (ยืนยันโดยฮิซบุลลอฮ์)[20]
≤500 (ยืนยันโดยรัฐบาลเลบานอน)[21]
500 (ยืนยันโดยสหประชาชาติ)[22]
600–800 (ยืนยันโดย IDF)[23][24]
ถูกจับ: 4 fighters[25]ทหาร Amal: ตาย 17ทหาร LCP: ตาย 12 ทหาร PFLP-GC: ตาย 2 IRGC: ตายประมาณ 6–9 (ข่าวเลบานอน)[26][27]กองทัพเลบานอน และInternal Security Forces: ตาย 43[7]

ชาวเลบานอน และชาวต่างชาติ:
ตาย:*
1,191 (องค์กรแอมเนสตี)[28]
1,109 (รวมนักรบอิซบุลลอฮ์อีก 250 คน)(Human Rights Watch)[29][30]
1,191 (รัฐบาลเลบานอน)[31][32][33][34][35]
บาดเจ็บ:
4,409ชาวต่างชาติ:
ตาย 51[19]
บาดเจ็บ 25 สหประชาชาติ:
ตาย 5
บาดเจ็บ 12[36]ความขัดแย้งอิสราเอล-เลบานอน พ.ศ. 2549 หรือ ความขัดแย้งเฮซบอลลาห์-อิสราเอล พ.ศ. 2549 เป็นชุดของการปฏิบัติการและการปะทะทางทหารนาน 34 วันในประเทศเลบานอนและตอนเหนือของประเทศอิสราเอลโดยผู้มีส่วนร่วมคือฝ่ายติดอาวุธของกลุ่มเฮซบอลลาห์ และกองทหารอิสราเอลในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 9:05 น. ตามเวลาท้องถิ่น (06:05 GMT) ฝ่ายติดอาวุธของกลุ่มเฮซบอลลาห์ เริ่ม ปฏิบัติการสัจจสัญญา (Operation Truthful Promise[37]) ทำการโจมตีข้ามพรมแดน มีนายทหารอิสราเอล 8 นายเสียชีวิต และถูกจับเป็นตัวประกัน 2 นาย จากนั้นจึงตามมาด้วยการแก้แค้นของฝ่ายอิสราเอลในชื่อ ปฏิบัติการตอบแทนอย่างสาสม (Operation Just Reward[38]) ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ปฏิบัติการการเปลี่ยนทิศ (Operation Change of Direction[39])รัฐบาลเลบานอนได้ประกาศไม่มีส่วนร่วมรู้เห็นกับปฏิบัติการของเฮซบอลลาห์ และได้เรียกร้องให้องค์กรนานาชาติช่วยเหลือเพื่อให้สงครามยุติโดยทันที[40]

สงครามเลบานอน_พ.ศ._2549

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่12 กรกฎาคม – 14 สิงหาคม ค.ศ.2006
(การกั้นเลบานอนของอิราเอลสิ้นสุดในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.2006)
สถานที่เลบานอน, อิสราเอลตอนเหนือ และที่ราบสูงโกลัน[2]
ผลลัพธ์จนมุม,[3] ทั้งสองฝ่ายอ้างชัยชนะ[4][5]
สถานที่ เลบานอน, อิสราเอลตอนเหนือ และที่ราบสูงโกลัน[2]
ผลลัพธ์ จนมุม,[3] ทั้งสองฝ่ายอ้างชัยชนะ[4][5]
วันที่ 12 กรกฎาคม – 14 สิงหาคม ค.ศ.2006
(การกั้นเลบานอนของอิราเอลสิ้นสุดในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.2006)

ใกล้เคียง

สงครามโลกครั้งที่สอง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามเวียดนาม สงครามกลางเมืองอเมริกา สงครามแปซิฟิก สงครามเกาหลี สงครามอ่าว สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง สงครามครูเสด สงครามกัมพูชา–เวียดนาม

แหล่งที่มา

WikiPedia: สงครามเลบานอน_พ.ศ._2549 http://www.atimes.com/atimes/Middle_East/HH17Ak02.... http://transcripts.cnn.com/TRANSCRIPTS/0607/15/se.... http://www.csmonitor.com/2006/0811/p01s01-wome.htm... http://www.foxnews.com/story/2006/08/14/both-hezbo... http://www.haaretz.com/print-edition/news/israel-t... http://fr.jpost.com/servlet/Satellite?cid=11545258... http://www.upi.com/InternationalIntelligence/view.... http://usatoday30.usatoday.com/news/world/2006-08-... http://asia.news.yahoo.com/060813/3/2of6v.html http://www.ynetnews.com/articles/0,7340,