ผลไพลโอโทรปิคของสแตติน ของ สแตติน

กลไกพื้นฐานของสแตตินที่ก่อให้เกิดผลด้านไพลโอโทรปิคของสแตตินคือ การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ 3-hydroxy-3-methylglutaryl-coenzyme A (HMG-CoA) reductase ทำให้มีสร้างสารกลุ่ม isoprenoids ลดน้อยลง ซึ่งจะส่งผลดีต่อพยาธิสภาพของหลอดเลือด โดยจะลดการเกิดการทำลายเซลล์ผนังหลอดเลือดโดยอนุมูลอิสระ (oxidative stress) และลดการเกิดคราบพลัคบริเวณผนังหลอดเลือด ซึ่งคราบพลัคที่เกิดขึ้นเหล่านี้อาจทำให้เกิดการอุดกั้นของเส้นเลือด หรืออาจเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบและมีผลยับยั้งการซ่อมแซมเส้นเลือดที่สึกหรอได้[59] ตารางต่อไปนี้ เป็นตารางเปรียบเทียบผลไพลโอโทรปิคของสแตตินชนิดต่างๆ[60][61][62][63][64]

เซลล์ผลไพลโอโทรปิคอะโทวาสแตตินเซอริวาสแตตินฟลูวาสแตตินโลวาสแตตินพิทาวาสแตตินปราวาสแตตินโรสุวาสแตตินซิมวาสแตติน
เกล็ดเลือดยับยั้งการกระตุ้นเกล็ดเลือด++++
ห้ามการจับกันของเกล็ดเลือด++
เยื่อบุหลอดเลือดกระตุ้นหรือเพิ่มการสังเคราะห์ไนตริกออกไซด์+++
ยับยั้งการสร้างอนุมูลอิสระ++++
เพิ่มจำนวนหรือการทำงานของเซลล์ต้นกำเนิดผนังหลอดเลือด++
เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดลดการเพิ่มจำนวนเซลล์+++
ลดการเกิด migration++
เพิ่มการเกิดอะพอพโทซิส+++++
แมคโครฟาจ/โมโนไซต์ลดการเพิ่มจำนวนเซลล์
ลดการทำงานของเอนไซม์ MNP protease++++
ลดการเกิดoxidized LDL++++
Vasculitisลดการทำงานของ MHC-II++++++
ลดระดับ hs-CRP+++++